Page 9 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 9

New Normal ความปกติใหม่


                                                                                       ในงานวิศวกรรม
            ศ.ดร.วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย, ราชบัณฑิต ผู้อ�านวยการสถาบันนวัตกรรมบูรณาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย





                                                  ประเทศไทยเข้าสู่


                                                  สังคมสูงวัย


                                           อย่างสมบูรณ์แล้ว








                                      “เริ่มตั้งแต่ปีนี้ ประเทศไทยได้ก้าวสู่สังคมสูงวัยที่สมบูรณ์แล้ว

                                      แต่การนับอายุตามปฏิทินเวลาไม่ได้สะท้อนถึงอายุทางชีวภาพ
                                        เพราะคนวัย 70 ในปัจจุบัน แท้จริงมีสภาพทางชีวภาพ

                                             เทียบเท่ากับคนอายุ 51 ในปี 2513 เท่านั้น”








              ตามค�าจ�ากัดความของสหประชาชาติ “สังคมที่ก�าลังสูงวัย  ความก้าวหน้าทางการแพทย์และสุขอนามัยที่ดีขึ้น การวัด “ความ
            (Aging Society)” เป็นนิยามส�าหรับประเทศที่มี “ประชากรสูงวัย   ชราภาพตามปฏิทินเวลา” จึงไม่อาจสะท้อนถึง “ความชราภาพ
            (ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป)” ตั้งแต่ร้อยละ 7 ขึ้นไป และ “สังคมสูงวัย  ทางชีวภาพ” ที่เราพอรู้สึกได้ในประเด็นนี้ หากเราพิจารณากราฟ
            อย่างสมบูรณ์ (Aged Society)” ใช้เรียกประเทศที่มีประชากร อายุขัยของประชากรไทยดังแสดงในภาพที่ 2 คนไทยอายุ 70 ปี
            สูงวัยจ�านวนร้อยละ 14 ขึ้นไป จนเมื่อสัดส่วนประขากรสูงวัย  ในปี 2564 มีล�าดับความชราในเปอร์เซ็นไทล์ที่ 89.95 ของอายุขัย
            เพิ่มมากกว่าร้อยละ 20 ประเทศก็จะก้าวเข้าสู่ “สังคมสูงวัยระดับ เมื่อเทียบด้วยค่าเปอร์เซ็นไทล์ล�าดับที่เท่ากันในปี 2513 จะเท่ากับ

            ยิ่งยวด (Super-Aged Society)”                      คนอายุ 51 ปี กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ คนไทยอายุ 70 ปี ในปัจจุบัน
              ด้วยนิยามข้างต้น ในปี 2565 ประเทศไทยได้เดินตามรอยญี่ปุ่น  มีความชราทางชีวภาพไม่ต่างจากคนไทยอายุ 51 ปี ในปี 2513
            (2537) ฮ่องกง (2555) เกาหลี (2560) ไต้หวัน (2562) และ สิงคโปร์  นั่นเอง
            (2564) รวมเป็น 6 เศรษฐกิจในเอเชียที่ได้เข้าสู่ “สังคมสูงวัยอย่าง
            สมบูรณ์” โดยมีสัดส่วนประชาการผู้สูงวัยจ�านวนร้อยละ 14.15

            (ภาพที่ 1) ก่อนหน้านั้นตั้งแต่ปี 2545 ไทยเป็น “สังคมที่ก�าลังสูงวัย”
            โดยในปีนั้นไทยมีประชากรสูงวัยร้อยละ 7.02 และคาดการณ์ว่า
            อีกเพียง 10 ปีข้างหน้า คือ ปี 2574 ไทยจะตามญี่ปุ่นเป็น “สังคม
            ผู้สูงวัยระดับยิ่งยวด” โดยจะมีประชากรสูงวัยเกินร้อยละ 20%




               ประเทศไทย 70 คือ 51 ใหม่



              ในหลายทศวรรษที่ผ่านมา อัตราการชราภาพได้ชะลอลง
            อย่างรวดเร็ว โดยเห็นได้จากอายุขัยของมนุษย์ที่ยาวขึ้น เพราะ


                                                                                                    วิศวกรรมสาร  9
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14