Page 10 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 10

ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์แล้ว


                                                                              สูงวัยมาพร้อมกับช่วงอายุขัย (life span)
                                                                              และช่วงสุขภาพดี (health span) ที่ยาวขึ้น

                                                                              ผู้สูงวัยส่วนใหญ่จึงยังอยู่ในสภาพที่ท�างานได้
                                                                              รัฐจึงต้องปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์เงื่อนไขต่าง ๆ
                                                                              ให้เกิดความยืดหยุ่น เพื่อช่วยให้สังคม
                                                                              ได้ประโยชน์จากผู้สูงวัยที่มากไปด้วยปัญญา
                                                                              และประสบการณ์ ดังนั้น “สังคมสูงวัย”

                                                                              จึงไม่ได้เป็นเรื่องน่ากลัวอีกต่อไป ส�าหรับ
                                                                              ผู้สูงวัย การมีอายุยืนยาวไม่ใช่แค่การนับ
                                                                              จ�านวนปีปฏิทินที่มีชีวิตอยู่ แต่เป้าหมายคือ
                                                                              การยืดความหนุ่มสาวหรือช่วงที่มีสุขภาพดี
                                                                              ให้ยาวออกไป จนครอบคลุมส่วนใหญ่ของ
                                                                              อายุขัย โดยลดช่วงความชราทางชีวภาพให้

                                                                              เหลือสั้นที่สุดในบั้นปลายของชีวิต
                                                                                การก�าหนดอายุที่ต้องเกษียณตั้งอยู่บน
                                                                              พื้นฐานที่ว่า เมื่อมนุษย์มีอายุเกินตัวเลขหนึ่ง
             หมดยุคครรลองชีวิตสามช่วง                                         ก็จะหมดสภาพการท�างาน ซึ่งเป็นสมมติฐาน
                                                                              ที่ง่ายเกินไปและคงถูกยกเลิกไปในอนาคต

            การแบ่งครรลองชีวิตของมนุษย์ออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่ ช่วงการศึกษา ช่วงการท�างาน  ด้วยอายุขัยคนไทยที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เชื่อว่า
          และช่วงเกษียณ ซึ่งแต่ละช่วงเกิดภายในกรอบเวลาเดียวกันส�าหรับมนุษย์ในวัยใกล้เคียงกัน  คนไทยที่อยู่ในช่วงวัย 40 ปีในวันนี้ คงสามารถ
          ครรลองชีวิตแบบนี้มนุษย์ได้ถือปฏิบัติมาตั้งแต่หลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งเหมาะกับ  ท�างานไปจนถึงอายุ 70 ปี สบาย ๆ ส่วนคน
          ยุคสมัยที่การเปลี่ยนแปลงเกิดอย่างช้า ๆ ต่อเนื่อง แต่ดูเหมือนก�าลังจะล้าสมัยในโลก ในช่วงวัย 20 ปี เชื่อว่า เขาจะท�างานจนถึง
          ดิจิทัลที่มนุษย์ต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดอย่างรวดเร็วและไม่สามารถคาดเดา อายุ 70 ปลาย ๆ หรือ 80 ต้น ๆ ในอนาคต
          อนาคตได้
            ในสังคมยุคดิจิทัล การเปลี่ยนงานหรือเปลี่ยนอาชีพบ่อยครั้งจะกลายเป็นเรื่องปกติ
          ครรลองชีวิตแบบสามช่วงจึงเป็นเรื่องล้าสมัย ครรลองชีวิตโลกยุคดิจิทัล จะเป็นแบบเปิด    สงครามแย่งชิงปัญญาชน

          กว้างและวนเวียนสลับกันไปมาระหว่างช่วงกิจกรรมต่าง ๆ (Open-Loop Model) โดยมนุษย์
          สามารถเรียนรู้ได้ในทุกวัย ไม่ว่าจะเป็นช่วงวัยยี่สิบ สามสิบหรือหกสิบก็ตาม เช่นเดียวกัน     ประเทศที่จะมีเศรษฐกิจดีในทศวรรษหน้า
          การท�างานก็ไม่ถูกจ�ากัดด้วยวัยเช่นกัน โดยสามารถท�างานหรือเป็นผู้ประกอบการได้ทุกวัย   คือ ประเทศที่มีประชากรจ�านวนมากพอ
          ในวัยสิบหก สามสิบ ห้าสิบหรือเจ็ดสิบ ตราบใดที่สุขภาพยังเอื้ออ�านวยอยู่  และส่วนใหญ่ยังอยู่ในวัยท�างาน ต่างจาก

                                                                              สังคมสูงวัยที่อัตราการเกิดลดลงและอายุ

             ผู้สูงวัยต่างจากผู้ชราภาพ



            ปัจจุบัน คือ รอยต่อระหว่างอดีตกับอนาคต ปัจจุบันจึงเป็นจุดที่มนุษย์อาศัยประสบการณ์
          ในอดีตมาคาดการณ์ และวางแผนอนาคต แต่ในโลกยุคดิจิทัลนี้ อนาคตข้างหน้าล้วนเป็น
          บริบทใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในอดีต แนวความคิดในการจัดการกับอนาคตจึงต้องคิด

          ใหม่ท�าใหม่ทั้งหมด
            การที่คนไทยมีอายุขัยยืนยาวขึ้น ชี้ว่า ผู้สูงวัยในประเทศไทยมีสุขภาพที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ
          สังคมจึงจ�าต้องเปลี่ยนกรอบความคิด (mindset) ที่ว่า ผู้สูงวัยคือผู้ชราภาพ ปัจจุบัน สังคม



        10    วิศวกรรมสาร
              ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15