Page 66 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 66
ข่าวกิจกรรม NEWS
07 แถลงข่าวอุบัติเหตุโครงเหล็ก Launching Gantry (LG) ถล่ม
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) แถลงข่าว เพื่อประคองโครงสร้างเหล็กและยกชิ้นส่วนพื้นสะพาน (segment)
“อุบัติเหตุโครงเหล็ก Launching Gantry (LG) ถล่ม ขณะด�าเนิน ที่ยังคงค้างอยู่ลงมา
การก่อสร้างทางด่วนบนถนนพระราม 2 : บทเรียนราคาแพง” • ก�ากับดูแล: ร่วมกับทีมวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ ก�ากับและควบคุม
เหตุการณ์ครั้งนี้ส่งผลกระทบต่อความรู้สึกของประชาชน การ การด�าเนินการทั้งหมด เพื่อความปลอดภัย และป้องกันการเกิดเหตุซ�้า
ด�าเนินชีวิตของประชาชนในวงกว้าง อีกทั้งส่งผลกระทบต่อความ โดยได้ก�าชับ และแนะน�าให้ด�าเนินการเคลียร์พื้นที่อย่าง
เชื่อมั่นของประชาชนในความปลอดภัยของโครงการก่อสร้าง นับเป็น ระมัดระวัง โดยยึดหลักความปลอดภัยเป็นส�าคัญ เนื่องจาก
บทเรียนส�าคัญที่ทุกฝ่ายต้องตระหนักถึงความส�าคัญของ มาตรฐาน โครงสร้างเหล็กมีขนาดใหญ่และน�้าหนักมาก ควรติดตั้งอุปกรณ์
ความปลอดภัย การควบคุมคุณภาพ และการก�ากับดูแล ในทุก ตรวจวัดเพื่อเฝ้าระวังการเคลื่อนตัว และลดโอกาสการพังทลาย
ขั้นตอนของโครงการก่อสร้าง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ ส่วนการรื้อถอนควรท�าตามขั้นตอนที่ผู้เชี่ยวชาญได้ก�าหนดไว้
เช่นนี้ซ�้ารอยอีก ส�าหรับการตรวจสอบสาเหตุและข้อเท็จจริงนั้น เริ่มจากการใช้เครนขนาดใหญ่ในการช่วยประคองคานเหล็กด้านซ้าย
กรมทางหลวงได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง และ ทางที่เสียหาย ก่อนปลดก้อนคอนกรีต และจึงย้ายคานเหล็กด้าน
ได้เชิญผู้แทนจาก วสท. และสภาวิศวกร ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน ซ้ายทางลงมายังพื้นที่ที่จัดเตรียมไว้ จากนั้นจึงเร่งเคลื่อนย้ายโครง
วิศวกรรมโยธา เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการฯ เพื่อร่วมหาสาเหตุ โดย เหล็กด้านขวา ทั้งนี้การด�าเนินการตามขั้นตอนข้างต้นจะต้องด�าเนิน
จะทราบผลการตรวจสอบภายใน 14 วัน จากแนวทางข้างต้น การภายในพื้นที่ Workzone ที่จัดเตรียมเฉพาะภายใต้การก�ากับ
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จึงได้ด�าเนินการดังนี้ การด�าเนินการโดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ เพื่อลดโอกาสการเกิด
• ร่วมกับกรมทางหลวง และ วสท. โดยคณะอนุกรรมการสาขา ผลกระทบต่อพี่น้องประชาชนและผู้ใช้ทางโดยรอบ
โครงสร้างและสะพาน และคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมยกหิ้ว และเพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์
และปั้นจั่น วสท. : วางแผนการเคลื่อนย้ายชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็ก ในลักษณะเดียวกันเช่นนี้อีกในโครงการก่อสร้างที่ด�าเนินการอยู่
และคอนกรีตออกจากพื้นที่ พร้อมทั้งแนะน�าการใช้เทคโนโลยีการ และโครงการในอนาคต วสท. ขอเสนอแนวทางในระดับนโยบาย
ตรวจสอบ และวัดมิติโครงสร้างระยะไกลด้วยระบบ 3D Pointed เพื่อให้ทางกระทรวงคมนาคมและหน่วยงานรัฐที่มีโครงการก่อสร้าง
Cloud และการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัด (Sensor) ในการตรวจวัด ในลักษณะเดียวกันพิจารณาดังนี้
พฤติกรรมโครงสร้างเพื่อความปลอดภัยตามหลักวิศวกรรม 1. ขึ้นทะเบียนอุปกรณ์ติดตั้งงานโครงสร้างสะพาน (Registered
ในระหว่างและภายหลังการเคลื่อนย้ายชิ้นส่วน Launching Gantry - LG): การขึ้นทะเบียน LG ที่ใช้งานเพื่อท�าให้
• บินโดรนส�ารวจ: ร่วมกับวิศวกรกรมทางหลวง บินโดรนเพื่อ สามารถตรวจสอบที่มาของ LG จะต้องมีการตรวจสอบมาตรฐาน
ตรวจสอบความเสียหายของโครงสร้างเหล็กโดยละเอียด และ การออกแบบ, การผลิตและประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ เก็บไว้เป็นฐาน
จัดท�าฐานข้อมูลในการก�าหนดขั้นตอนการเคลียร์พื้นที่ ข้อมูล
• ร่วมประชุมวางแผน: ร่วมกับทีมงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 2. ยกร่างแนวทางมาตรฐานการท�างานเครื่องจักรพิเศษงาน
ประชุมวางแผนเพื่อหาข้อสรุปในการก�าหนดจุดติดตั้งเครน ติดตั้งโครงสร้างสะพาน (Guide to standardize of LG
66 ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567 วิศวกรรมสาร