Page 15 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 15

2. วัตถุประสงค์



              เป็นการศึกษาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบลุ่มน�้าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ อุทกวิทยาในอดีตเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 25 ปี
            น�้าทั้งน�้าท่วมปี 2554 ปีปกติและภัยแล้งในปี พ.ศ. 2536-2537 ด้วยมาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง มาใช้ในการศึกษา ซึ่งมีรายละเอียดอยู่ใน
            บนลุ่มน�้าเจ้าพระยาเป็นมาตรการหลักและ มาตรการใช้สิ่งก่อสร้างเป็นมาตรการรอง ทั้งนี้ (1), (2) และ (3)  ผลการศึกษาปรากฏว่า
            เพราะในปัจจุบัน (มกราคม 2563) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังใช้วีการจัดการน�้าก่อนปี พ.ศ.   ปริมาณน�้าที่สามารถเก็บกักได้ในอ่างเก็บน�้า

            2520 อยู่                                                           เขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ มีไม่เพียงพอ
                                                                                ส�าหรับการเพาะปลูกฤดูแล้งบนพื้นที่
                                                                                ชลประทานด้านท้ายอ่างได้เต็มพื้นที่ทุกปี
               3. การศึกษาส�าคัญที่ผ่านมา                                       (เต็มตามความสามารถที่คลองส่งน�้าจะส่ง
                                                                                ให้ได้) จึงท�าให้โครงการพิษณุโลกฝั่งซ้าย
              เขื่อนสิริกิติ์ก่อสร้างแล้วเสร็จประมาณปี พ.ศ. 2514 และประมาณปี พ.ศ. 2520    (หันหน้าตามน�้า) ในเขตจังหวัดพิษณุโลก

            ธนาคารโลกซึ่งประเทศไทยได้กู้เงินมาพัฒนาทั้งการสร้างอ่างเก็บน�้าและระบบ พิจิตร และนครสวรรค์ พื้นที่เพาะปลูก
            ชลประทานขนาดใหญ่ได้แนะน�าให้ประเทศไทยว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษามาศึกษาการใช้น�้า  ประมาณ 500,000-600,000 ไร่ ต้องหยุด
            ในลุ่มน�้าเจ้าพระยา-แม่กลอง  และบริษัทที่ได้รับการคัดเลือกได้ศึกษาการใช้น�้า  การพัฒนาและมีข้อเสนอแนะที่ส�าคัญ
            ในลุ่มน�้า อย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลอง ซึ่งประกอบด้วย แบบจ�าลองฝนใช้การ แบบจ�าลอง  มากข้อหนึ่งคือ ไม่ควรก่อสร้างอ่างซ้อน
            ค�านวณหาความต้องการน�้าชลประทาน และแบบจ�าลองระบบลุ่มน�้า โดยใช้ข้อมูล อ่างแล้วเปิดพื้นที่ชลประทานท้ายอ่าง

                                                                                ด้านเหนือน�้าเพิ่ม ซึ่งจะเป็นการย้ายพื้นที่
                                                                                ชลประทานจากโครงการชลประทาน
                                                                                เจ้าพระยาขึ้นไปเพาะปลูกในเขตโครงการ
                                                                                ชลประทานใหม่ ซึ่งต้องเสียค่าก่อสร้างเพิ่ม
                                                                                และขณะนั้นอ่างเก็บน�้าเขื่อนแม่งัดพร้อม
                                                                                ระบบชลประทานท้ายอ่างในเขต จ.เชียงใหม่
                                                                                และอ่างเก็บน�้าเขื่อนแม่กวง พร้อมระบบ

                                                                                ชลประทานท้ายอ่างในเขต จ.ล�าพูน ยังไม่ได้
                                                                                ก่อสร้าง อนึ่งในการศึกษาดังกล่าวได้ศึกษา
                                                                                หากราฟส�าหรับค�านวณหาพื้นที่เพาะปลูก
                                                                                ฤดูแล้ง (Dry season area reduction
                                                                                curve, DSAR-Curve) ของอ่างเก็บน�้า

                                                                                เขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์  ในขณะที่
                                                                                ลุ่มน�้าแม่กลองหลังจากเขื่อนศรีนครินทร์
                                                                                และเขื่อนวชิราลงกรณ์ก่อสร้างแล้วเสร็จ
                                                                                จะมีน�้าเหลือ เพราะระบบชลประทาน
                                                                                ก่อสร้างได้ช้ากว่าอ่างเก็บน�้า จึงได้มีการ
                                                                                ศึกษาเพื่อผันน�้าจากคลองสายใหญ่

                                                                                ฝั่งซ้ายของโครงการแม่กลองลงสู่คลอง
                                                                                ท่าสาน-บางปลา มาลงแม่น�้าท่าจีน ดังนั้น
                                                                                ถ้าสามารถผันน�้าจากลุ่มน�้าแม่กลอง
                                                                                มาใช้ในลุ่มน�้าเจ้าพระยาได้เร็วเท่าใดก็จะ
                                                                                เกิดประโยชน์มากเท่านั้น และบริษัทที่


                                                                                                    วิศวกรรมสาร  15
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20