Page 29 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 29
นายสถาพร โภคา
ตอนที่ ๖ หากจะต้อง ซ่อมแซม
หรือฟื้นฟูบูรณะ
ตอนนี้ จะกล่าวถึง การซ่อมแซม วิเคราะห์ศัพท์
ฟื้นฟูบูรณะ สิ่งปลูกสร้าง อาคารเก่า
โบราณสถาน ซึ่งไม่กล่าวถึงความ
ยากง่าย แต่บอกเล่าว่า อาศัยหลาย งานอาคาร ครอบคลุมทั้งงานอาคารใหม่ และอาคารเดิม
องคาพยพ เริ่มจากหน่วยงานที่ ซึ่งอาจถูกซ่อมแซม ปรับปรุงสภาพ บูรณะฟื้นฟู ตามพจนานุกรม
กำากับรับผิดชอบตรง องค์ความรู้ที่ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ค�าว่า แก้ไข หรือซ่อมแซม (Remedy
เป็นสหวิทยาการ ทั้งประวัติศาสตร์ หรือ repair) คือ ท�าให้ถูกต้อง (Correct or to make or set right
สถาปัตยกรรม ศิลป โบราณคดี or to alter or adjust so as to bring to standard or
วิศวกรรมหลายสาขา และอื่น ๆ ซึ่ง required condition) ค�าว่า “Renovate” คือ ปรับปรุงสภาพ
ย่อมต้องอาศัยความรู้ ความชำานาญ ให้ดีดุจเดิม อาทิ ท�าความสะอาด ซ่อมแซมส่วนสึกหรอ หรือ
การประสานความคิด และความร่วมมือ สร้างใหม่ทดแทนของเดิม (To restore to a former better
ให้งานสำาเร็จลุล่วง เราควรรัก state as by cleaning, repairing or rebuilding) ค�าว่า
หวงแหนสมบัติชาติ ย่อมมีหน้า “Retrofit” หมายถึง ปรับปรุงโดยเพิ่ม เสริม หรือเติมแต่ง
ที่พื้นฐานต้องช่วยกันดูแล ทั้งใน (Furnish) อาทิ โดยติดตั้งส่วนประกอบใหม่ หรือดัดแปลงใด ๆ
ฐานะคนไทย และนายช่าง อย่างไร
ก็ตาม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นเพียง ซึ่งเดิมมิได้ค�านึงถึงสิ่งเหล่านี้ (install new or modified parts
กลไก หรือองคาพยพหนึ่งที่จะ or equipment not available or considered necessary
ทำาให้งานสำาเร็จได้ แต่ไม่ใช่ทั้งหมด at the time of manufacture) ค�าว่าฟื้นฟูบูรณะ (Rehabilitation)
หากมีโอกาส จึงควรใช้ความรู้ หมายถึงเสริมสร้างให้มีสภาพดุจเดิม (To restore to a former
ความสามารถ ทำางานตามบทบาท capacity or former state) อาจนิยามให้เข้าใจง่ายว่า หมายถึง
หน้าที่ การปรับปรุง ซ่อมแซม ครั้งส�าคัญ มีค�าอื่นที่ความหมายคล้ายคลึง
29
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564