Page 30 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 30
โบราณก กรรมไ ย
กับค�าที่กล่าวมา อาทิ Modernize,
Rebuild, Refurbish, Rejuvenate,
Renew, Renovate, Restore, Update และ
Mend อนึ่ง พจนานุกรม ฯ ให้ความหมาย
ค�าว่า ปฏิสังขรณ์ ว่าหมายถึง ซ่อมแซมท�าให้
กลับคืนดีเหมือนเดิม ปกติมักใช้เฉพาะ
วัดวาอาราม ซึ่งอาจตรงกับ ค�าว่า Consolidate,
Retrofit, Renovate หรือ Rehabilitation
การอนุรักษ์ โบราณสถาน หรืออาคาร
นอกจากจะใช้มาตรการกฎหมาย หรือออก
กฎหมายคุ้มครองแล้ว ยังหมายถึงงาน
ทั้งปวง เพื่อผดุงสภาพ (Preservation)
อนุรักษ์ปกป้อง (Conservation) เสริมสภาพ
ให้มั่นคง (Consolidation) ซ่อมแซมส่วนที่
ช�ารุดเสียหายให้มีสภาพดุจเดิม (Restoration)
ชลอลง แล้วประกอบใหม่ โดยอาจท�า
ชิ้นส่วนใหม่ทดแทนชิ้นส่วนที่ขาดหาย โดย
ต้องท�าเครื่องหมายให้ทราบ หรือแยกแยะได้
(Anastylosis) การสร้างขึ้นใหม่ทดแทน
ของเดิม (Reconstruction) การปรับปรุง
หรือบูรณะฟื้นฟู การเคลื่อนย้าย หรือย้าย
ไปอยู่ ณ ต�าแหน่งใหม่ (Relocation - ให้
นึกถึงการยกย้ายมหาวิหาร Abu Zimbel รูปที่ ๑ ตัวอย่างอาคารเก่า อาคารทรงคุณค่า อาคารอนุรักษ์ สู่โบราณสถาน ด้วยกาลเวลา
หนีน�้าท่วม เมื่อคราวต้องสร้างเขื่อน Aswan (บน อนุเคราะห์โดย ชัยเนตร การุณยเวทย์ ฉัตรินทร์ พุ่มเทียน และอนันตศักดิ์ ประภัสสร)
ในอียิปต์)
ค�าว่า โบราณสถาน นิยามโดยกฎหมาย
ขณะที่มีค�าอื่น ๆ อาทิ อาคารเก่า (ทุกอาคาร อ�านาจ หน้าที่ ย่อมมีกฎหมาย
ย่อมเก่าตามกาลเวลา อาคารอนุรักษ์ อาคาร
อนุรักษ์ คืออาคารเก่าที่มีคุณค่าทางทาง พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
สถาปัตยกรรม สมควรได้รับการบูรณะ พ.ศ. ๒๕๐๔ พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถาน
และอนุรักษ์ โดย คณะกรรมาธิการอนุรักษ์ แห่งชาติ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๐๘ - ๑๓ ธันวาคม
ศิลปสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม พ.ศ. ๒๕๑๕ จ�ามาตราส�าคัญง่าย ๆ คือ นิยาม (มาตรา ๔) เจ้าพนักงาน (มาตรา ๕)
ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีกิจกรรมมอบ การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน และสิทธิโต้แย้ง (มาตรา ๗) หน้าที่ของเจ้าของ หรือผู้ครอบครอง
รางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น (มาตรา ๙) ห้ามปลูกสร้าง ฯ (มาตรา ๗ ทวิ - ข้อนี้ เกี่ยวข้องกับกฎหมายอาคาร) การซ่อมแซม
(สามประเภทหลัก คือ อาคารพาณิชย์ แก้ไข หรือเปลี่ยนแปลง (มาตรา ๑๐) และอ�านาจหน้าที่เจ้าพนักงาน (มาตรา ๑๐ ทวิ)
เคหสถาน บ้านเรือน และวัดวาอาราม ด้วยเหตุดังกล่าว เราจึงมักได้ยินอยู่เนือง ๆ ว่า แม้อาคารมีเจ้าของ หรือผู้ครอบครอง
ปูชนียสถาน) หรืออาคารทรงคุณค่า ฯ ของ ก็ไม่อาจท�าการใด ๆ (ซ่อมแซม บูรณะฟื้นฟู หรือรื้อถอน) ได้ตามอ�าเภอใจ ยกมาตราส�าคัญ
ชุมชนท้องถิ่น หรือหน่วยงาน (รูปที่ ๑) กล่าวโดยสังเขป ดังนี้
30
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564