Page 33 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 33

โบราณก างบั     กรรมไทย




                การผดุงสภาพก่อนซ่อมแซม ฟื้นฟูบูรณะ


              นอกเหนือจากการบ�ารุงรักษาตามปกติ เมื่อจ�าเป็น อาจต้องมีมาตรการ หรือวิธีชั่วคราว  บางกรณี อาจยอมให้ใช้วิธียึด หรือตรึงด้วย

            เพื่อพยุง ผดุงสภาพอาคารเก่า หรือโบราณสถาน ก่อนซ่อมแซม หรือฟื้นฟูบูรณะ อาทิ   หมุด หรือแถบเหล็กยึด เพื่อผดุงสภาพ
            เกิดความเสียหายเนื่องจากพิบัติภัย ขาดงบประมาณ หรือยังไม่มีวิธีที่เหมาะสม ตัวอย่าง  ชั่วคราว หรือใช้อย่างถาวรได้ โดยไม่เกิด
            มาตรการชั่วคราว มีดังนี้                                               ทัศนอุจาด (รูปที่ ๔)
              ขุดลอก หรือท�าระบบระบายน�้าชั่วคราว เพราะน�้า หรือความชื้น ย่อมเป็นสาเหตุ หรือ    การรักษาสภาพโดยใช้หลังคาคลุม หรือ
            ปัจจัยที่ท�าให้วัสดุเสื่อมสภาพ โครงสร้างเสียเสถียรภาพ หรือพังทลายได้ แม้เมื่อได้ซ่อมแซม  มีสิ่งปลูกสร้าง มีอาคาร เก็บรักษาชิ้นส่วน

            หรือฟื้นฟูบูรณะแล้ว ก็ย่อมต้องท�าระบบระบายน�้า หรือตัดความชื้นอย่างถาวรอยู่ดี แต่มี  ส�าคัญอย่างปลอดภัย เมื่อซ่อมแซม หรือ
            หลักการส�าคัญ คือ การขุดลอก และระบบระบายน�้าชั่วคราวนี้ จะต้องไม่กระทบท�าลาย  ฟื้นฟูบูรณะแล้วเสร็จ อาจน�ากลับติดตั้ง
            การส�ารวจ หรือขุดค้นทางโบราณคดี และไม่เกิดผลกระทบต่ออาคาร หรือโบราณสถาน  ในที่เดิม หรือจัดแสดงในอาคารดังกล่าว
            ส่วนอื่น ในบริเวณใกล้เคียง (รูปที่ ๓)                                  อย่างถาวร หรือจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์
              การค�้ายัน หรือโอบรัดองค์อาคาร หรือโครงสร้าง โบราณสถาน เพื่อพยุงองค์อาคาร หรือ    การใช้วัสดุครอบ คลุม หรือท�ารั้วกั้นเขต
            โครงสร้าง อาทิ ค�้ายันด้วยโครงไม้ หรือโครงเหล็กรูปพรรณ โอบรัดด้วยเชือก หรือลวดเหล็ก  เพื่อป้องกันขัดสี เหยียบย�่า หรือสัมผัส (เช่น

            อย่างไรก็ตาม ทั้งการค�้ายัน และโอบรัด ก็ต้องไม่กระทบท�าให้วัสดุ (โดยเฉพาะส่วนที่มีคุณค่า  จารึก ลวดลาย) ทั้งชั่วคราว หรืออย่างถาวร
            ทางศิลป ประวัติศาสตร์ โบราณคดี เช่น ลวดลาย จารึก) การค�้ายันด้วยโครงเหล็ก หรือ  ก็เป็นอีกวิธีที่ใช้ (รูปที่ ๕ และรูปที่ ๖)
            การโอบรัดด้วยลวดเหล็ก ต้องวัสดุอ่อน เช่น ไม้ แทรก หรือรองรับบริเวณผิวสัมผัส


















                                                  รูปที่ ๓ ตัวอย่างการขุดลอก ระบายน�้า
                (เมืองฟ้าแดดสงยาง อ�าเภอกมลาไสย กาฬสินธุ์ ปราสาทสระก�าแพงน้อย อ�าเภออุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ดงเมืองเตย อ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว ยโสธร)






























                                                                                                              33
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38