Page 24 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 24
ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย
เหตุความขัดแย้งเรื่องปราสาทพระวิหารบนเวทีโลก ท�าให้คนไทย ส่วนร่วมสร้างปราสาท) ได้เห็นหลุมหลบภัย ที่ท�าจากท่อระบายน�้า
จ�านวนมาก อยากจะไปเห็นปราสาทยิ่งใหญ่เก่าแก่บนหน้าผา แต่ หนึ่งในประจักษ์หลักฐานการปะทะรุนแรง (รูปที่ ๗ก) อย่างไรก็ตาม
อาจได้เพียงมองห่าง ๆ จากดินแดนไทย ควรดูสิ่งที่ยังคงหลงเหลือ หากมุ่งหน้าไปอีกด้านหนึ่งของภูมะเขือ แม้จะเป็นพื้นที่หวงห้าม
ในพื้นที่ผามออีแดง อุทยานแห่งชาติพระวิหาร เช่น รูปสลักนางอัปสร ทางยุทธศาสตร์ แต่ยังสามารถเข้าไปถึงปราสาทโดนตวล เทวสถาน
บนหน้าผา (ที่ไม่ได้สัดส่วน แข็งกระด้าง บ้างสันนิษฐานว่า เป็นช่าง บนยอดเขาที่เคารพศรัทธาของผู้คนทั้งสองแผ่นดิน มีงานประเพณี
ที่ยังไม่มากฝีมือ แอบเร้นมาหาที่ฝึกปรือความสามารถ เพื่อขอไปมี ท�าบุญบวงสรวงทุกปี (รูปที่ ๗ข)
ก. ปราสาทพระวิหารอยู่ไกลลิบตา แต่มีรูปสลักบนผามออีแดง และหลุมหลบภัยในดินแดนไทย
ข. ปราสาทโดนตวล เทวสถานบนยอดเขาที่เคารพศรัทธาของผู้คนทั้งสองแผ่นดิน
รูปที่ ๗ ยังมีสิ่งหลงเหลือในดินแดนไทย ที่ภูมะเขือ ผามออีแดง อุทยานแห่งชาติพระวิหาร
พร้อม ๆ กับข่าวทวงคืนทับหลังของปราสาทหนองหงส์ อ�าเภอ ต่อมาไม่นาน คนไทยได้รู้จักจากข่าวครึกโครมว่ามีปราสาทเขาโล้น
โนนดินแดง บุรีรัมย์ ปราสาทเขาโล้น อ�าเภอตาพระยา สระแก้ว ที่อ�าเภอโคกสูง สระแก้ว (รูปที่ ๘ค) และยังมีโบราณสถานที่เป็น
และเทวรูปมีค่า หลากหลายขนาด กว่าสองร้อยองค์ ที่ถูกขโมยจาก หนึ่งในห้าแห่งของปราสาทขนาดใหญ่ในประเทศไทย อยู่บนดินแดน
ประเทศไทย โดยเฉพาะจากปราสาทไปรบัด ๑ และปราสาทไปรบัด ๒ ไทยใกล้เส้นเขตแดนเหลือเกิน เสียหายเพราะสงครามอย่างยับเยิน
ท�าให้คนไทยรู้จักเทวรูปซึ่งมีเอกลักษณ์ ต่างชาติขนานนามว่า ฟื้นฟูบูรณะแล้ว คือ ปราสาทสด๊กก๊อกธม หรือปราสาทเมืองพร้าว
เป็นศิลปแบบประโคนชัย พบในพื้นที่นี้แห่งเดียว ปราสาทไปรบัด แห่งอุทัยทิตยวรมันที่ ๒ หนึ่งในกษัตริย์ผู้สร้างเมืองพระนคร ส�าคัญ
ทั้งสองแห่ง เป็นเทวสถานบนยอดเขา ไม่ได้ห่างไกลจากปราสาท คือ ค้นพบจารึกสด๊กก๊อกธม ซึ่งบอกเล่าบอกเล่าประวัติศาสตร์
เมืองต�่า หรือกุฎีฤาษีบ้านโคกเมือง และปราสาทพนมรุ้ง (แต่คนไทย ในอาณาจักรขอมที่ขาดหายไปกว่า ๘๐ ปี ปัจจุบัน กรมศิลปากร
จ�านวนมาก ไม่เคยรู้จัก) ยามฤดูฝน ต้นไม้งามปกปิดปราสาททั้งสอง สร้างศูนย์บริการข้อมูลข้อมูลอุทยานประวัติศาสตร์สด๊กก๊กธม
แทบมิดชิด มองหาทางเข้าไม่พบ แต่ยามแล้งไม้ผลัดใบ เผยให้เห็น เป็นประโยชน์ที่จะให้คนไทยได้รู้ความส�าคัญของเทวสถาน (รูปที่ ๘ง)
ปราสาททั้งสองจากระยะไกลหลายกิโลเมตร (รูปที่ ๘ก และรูปที่ ๘ข)
24 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565