Page 19 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 19

ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย



















                พระนครศรีอยุธยา มรดกโลก                          วัดราษฎร์บูรณะ อนุสรณ์ชิงราชย์สมบัติของเจ้าอ้ายเจ้ายี่ (บ้างว่า ฤา
                ใคร ๆ ก็รู้จัก                                   เป็นอุบายเจ้าสามพระยา ผู้กรีฑาทัพไปปราบเมืองพระนคร - เสียมเรียบ

                                                                 เป็นครั้งแรก อาจเป็นเหตุหนึ่งให้อาณาจักรขอมค่อยเสื่อมอ�านาจ
              หากยกพระนครศรีอยุธยามรดกโลก เป็นห้องเรียนเรื่องโบราณ   - รูปที่ ๔ค) หากจะตามรอยประวัติศาสตร์กับละครย้อนยุค ตั้งแต่
                                                                           6
            กับงานวิศวกรรม หรือท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม ย่อมง่าย เพราะใคร ๆ    สะพานป่าถ่าน  สถานประลองยุทธ์ของเจ้าอ้ายเจ้ายี่ หน้าวัดราษฎรบูรณะ
            รู้จัก จะเริ่มต้น ณ สถานที่ใด ล�าดับอย่างไร ล้วนสัมพันธ์เกี่ยวโยง   ถึงร่องรอยวิทยาการจากโลกตะวันตก  สะพานชีกุน  สะพาน

            น่ารู้ อาทิ วัดไชยวัฒนาราม ก่อสร้างในยุคกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย   วัดบรมวาสฯ และสะพานอื่น ๆ (รูปที่ ๔ง)  ระบบน�้าประปา ทั้งที่
            คติการวางผังเช่นเดียวกับปราสาทขอมที่เป็นเทวสถานขนาดใหญ่   พระบรมมหาราชวังในพระนครศรีอยุธยา หรือนารายณ์ราชนิเวศน์
            มีการต่อเติมเป็นล�าดับมา (จนปรากฏโครงสร้างแยกตัวเพราะวาง  ลพบุรี อนุสรณ์ที่ครั้งหนึ่ง ไทยมีเสนาบดี หรือนายกรัฐมนตรีหนุ่มสุด
            บนฐานรากที่สร้างต่างเวลา และน�้าหนักแตกต่างกัน) เคยเป็น  ในประวัติศาสตร์ แต่เป็นชาวต่างชาติ กลาสีเรือแตกชาวกรีกนาม
            ป้อมค่ายส�าคัญของกรุงศรีอยุธา เพราะชัยภูมิดีในคุ้งน�้า ปัจจุบันมี   Constantine Poulkon Gerakis (เจ้าพระยาวิชเยนทร์) ซึ่งน�าพา
            ผลกระทบจากอุทกภัยอยู่เนือง ๆ ท�าให้ต้องหาวิธีป้องกัน โครงสร้าง   วิทยาการจากแดนไกลสู่ประเทศไทย (อาทิ ระบบประปา ดาราศาสตร์

            ยังหลงเหลือเครื่องไม้ และซากความเสียหายจากไฟเผาผลาญในอดีต    น�้าพุ การชั่งน�้าหนักเรือสินค้า) มาในยุคที่ชาติไทยล่อแหลมปาก
            (รูปที่ ๔ก) หากจะย้อนไปตั้งแต่สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี   เหยี่ยวปากกานักล่าอาณานิคมจากฝรั่งเศส โดยเอกอัครราชฑูตเจริญ
            สมัยพระเจ้าอู่ทอง ที่วัดมหาธาตุ วัดแห่งแรก ๆ ของราชธานี (และ  สัมพันธ์ไมตรี ที่หมายใช้การเผยแผ่ศาสนาเป็นอาวุธแฝง (Simon
            อีกหลายเมืองในอดีต) ร่องรอยเจดีย์ที่ถูกขยาย ด้วยวัสดุต่างชนิด   de La Loubère และ Chevalier de Chaumont) โชคดีต้อง
            วางบนฐานรากที่น่าจะสร้างขยายต่างเวลา กอปรกับโจรกรรมขุดค้น  ดีใจว่าเรารอดได้ อีกทั้งเคยมีบุคคล หรือขุนนางต่างชาติผู้มีบทบาท

            สมบัติ ท�าให้ปรางค์ประธานทรุดพังทลายอย่างน่าเสียดาย อย่างไร  ในประวัติศาสตร์ไทยมาแล้วไม่น้อย ทั้งครูดาบชาวโปตุเกสสมัย
            ก็ตาม ผ่านมาหลายยุคสมัย ศิลปกรรมในบริเวณวัด ก็แตกต่าง  พระนเรศวรมหาราช (Fernão Mendes Pinto หรือ Domingos
            กันไปด้วย ตั้งแต่เจดีย์ทรงระฆัง เก๋งจีนแปดเหลี่ยม หรือช่องตาม  de Seixas) ขุนนางในราชส�านักแผ่นดินพระเจ้าทรงธรรม ต�าแหน่ง
            ประทีปตามแบบอาหรับ เปอร์เซีย หรือยุโรป (รูปที่ ๔ข) กรุสมบัติ  เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช (Yamada Nagamasa) - รูปที่ ๔จ








               6 สะพานป่าถ่าน เป็นสะพานอิฐสร้างข้ามคลองประตูข้าวเปลือก  ผ่านหน้าวัดวัดมหาธาตุ และวัดราชบูรณะ พ.ศ. ๑๙๖๗ สมเด็จพระอินทราชาทรงประชวร เป็น
            สถานที่ซึ่ง เจ้าอ้ายพระยา และเจ้ายี่พระยา ชนช้างกัน และถึงแก่พิราลัยทั้งคู่ เจ้าสามพระยา จึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็น สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (พ.ศ. ๑๙๖๗
            ถึง พ.ศ. ๑๙๙๑) สะพานอื่น ๆ ที่ปรากฏใน หรือคงมีร่องรอยปัจจุบัน อาทิ สะพานชีกุน สะพานข้ามคลองในไก่ สะพานหน้าวัดบรมพุทธาราม  สะพานร�าเพย (บ้างเรียก
            สะพานหน้าหับเผย)  สะพานประตูจีน สะพานบ้านดินสอ สะพานประตูเทพหมี (สะพานโค้งใช้อิฐก่อ ช่องโค้งคูหากลางคลองหนึ่งช่อง หรือสามช่อง ช่องกลางมขนาดใหญ่
            เพื่อให้เรือผ่านได้ อีกสองช่องขนาดเล็ก) สะพานช้าง (ถนนป่ามะพร้าว ข้ามคลองประตูข้าวเปลือก หน้าวัดพลับพลาชัย) สะพานสายโซ่ (ข้ามคลองท่อเข้ามาในพระราชวัง
            ข้างพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์ เยื้องไปทางเหนือ แท่นฐานตอม่อ หรือเชิงสะพานสองฝั่งก่ออิฐ มีผู้สันนิษฐานว่า ตัวสะพานอาจเป็นสะพานหก )





                                                                                      ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม  วิศวกรรมสาร 19
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24