Page 59 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 59
มลพิษจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM และมาตรการลดผลกระทบที่เกิดจากฝุ่นที่เป็นไปได้ในสังคมไทย
2.5
รูปที่ 2 ช่วงเวลำของกำรเกิดฝุ่น PM ในพื้นที่ทั่วประเทศ (ข้อมูลจำกกรมควบคุมมลพิษ)
2.5
3. ผลกระทบของฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM
2.5
ฝุ่นละอองขนำดเล็ก PM มีอันตรำยมำกกว่ำฝุ่นขนำดใหญ่เนื่องจำกสำมำรถเข้ำสู่
2.5
ระบบทำงเดินหำยใจได้อย่ำงง่ำยดำย โดยเข้ำไปสู่ส่วนลึกของปอดได้ ส�ำหรับฝุ่นจำกไอเสีย
รถดีเซลก็เป็นตัวอย่ำงของฝุ่นขนำดเล็ก PM ถูกจัดว่ำเป็นสำรก่อมะเร็ง จำกรำยงำนของ
2.5
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย (2568) คำดว่ำผลกระทบทำงเศรษฐกิจในมิติของค่ำเสียโอกำสโดย
เฉพำะประเด็นด้ำนสุขภำพของคนกรุงเทพฯ เป็นระยะเวลำประมำณ 1 เดือน จะอยู่ที่
ไม่ต�่ำกว่ำ 3,000 ล้ำนบำท ปัญหำฝุ่นละอองเกินมำตรฐำน PM ท�ำให้เกิดค่ำใช้จ่ำย
2.5
ด้ำนสุขภำพ ทั้งในมิติของกำรรักษำอำกำรเจ็บป่วย รวมถึงค่ำใช้จ่ำยอื่น ๆ ในมิติของกำร
ดูแลป้องกันสุขภำพ เช่น หน้ำกำกอนำมัย เครื่องฟอกอำกำศ ซึ่งแม้ว่ำค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำว
จะถูกส่งผ่ำนไปยังภำคธุรกิจ แต่ก็ถือเป็นค่ำเสียโอกำสที่เกิดขึ้น เพรำะผู้บริโภคไม่สำมำรถ
น�ำเงินนี้ไปใช้จ่ำยเพื่อกำรอื่น ดังนั้นกำรควบคุมมลพิษจำกฝุ่น PM จึงเป็นสิ่งที่จ�ำเป็น
2.5
ต่อสุขภำพของประชำชน
ความเสี่ยงและผลกระทบของฝุ่น PM ต่อสุขภาพ
2.5
• ปัญหำระบบทำงเดินหำยใจ: ฝุ่น PM อำจท�ำให้มีอำกำรระคำยเคืองในจมูก คอ • อนุภำคของฝุ่นละอองที่ได้รับ
2.5
และปอด น�ำไปสู่อำกำรหำยใจติดขัด หอบหืด หรือโรคปอดเรื้อรัง และมีสำรพิษชนิดหนึ่ง • ระยะเวลำของกำรได้รับหรือสัมผัส
ที่น่ำกลัวที่มำจำกกำรเผำไหม้เมื่อมำอยู่กับฝุ่น PM คือ สำรโพลีไซคลิกอะโรมำติก • กลุ่มที่มีควำมเสี่ยงสูง เช่น ผู้สูงอำยุ
2.5
ไฮโดรคำร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbon) หรือ PAHs ซึ่งมีควำมเสี่ยงเป็น เด็ก และผู้ที่มีโรคประจ�ำตัว เช่น โรคระบบ
สำรก่อมะเร็ง ทำงเดินหำยใจ โรคหัวใจ
• ปัญหำหัวใจและหลอดเลือด: ฝุ่น PM อำจกระตุ้นกำรอักเสบในร่ำงกำย และ ปัญหำฝุ่นละอองขนำดเล็ก PM
2.5 2.5
เพิ่มควำมเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด และอำจท�ำให้ควำมดันโลหิตสูงขึ้น ได้กลำยเป็นปัญหำส�ำคัญด้ำนสุขภำพที่
• ผลกระทบต่อระบบประสำท: มีรำยงำนว่ำ ฝุ่น PM อำจส่งผลกระทบต่อสมอง ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจ�ำวันของผู้คน
2.5
ด้ำนควำมจ�ำและสมำธิในระยะยำว ในหลำยประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย
ส�ำหรับกำรสัมผัสติดต่อในระยะยำวอำจก่อให้เกิดโรคต่ำง ๆ ได้ เช่น หอบหืด ถุงลม ดังนั้น กำรดูแลสุขภำพเพื่อลดควำมเสี่ยง
โป่งพอง มะเร็งปอด มะเร็งเต้ำนม มะเร็งกระเพำะปัสสำวะ หลอดเลือดสมอง หัวใจเต้น จำกฝุ่น PM จึงเป็นสิ่งที่ควรให้ควำมส�ำคัญ
2.5
ผิดจังหวะ ภำวะหัวใจล้มเหลว เป็นต้น ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้ อย่ำงยิ่ง
วิศวกรรมสาร l ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 59