Page 64 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 64

มลพิษจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM  และมาตรการลดผลกระทบที่เกิดจากฝุ่นที่เป็นไปได้ในสังคมไทย
                                                 2.5





             6) การรณรงค์และสร้างความตระหนักแก่ประชาชน
              ประสำนงำนกับหน่วยงำนท้องถิ่นและชุมชน ในกำรจัดกิจกรรมเผยแพร่ควำมรู้
          และอบรมกำรจัดกำรมลพิษ เพื่อให้ทุกภำคส่วนมีส่วนร่วม ดังแสดงในรูปที่ 7

                 รับฟังควำมคิดเห็นและประสบกำรณ์จำกชุมชนและเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อให้ได้
          ข้อมูลที่ครอบคลุมและเข้ำใจปัญหำในระดับรำกฐำน
                 กำรรณรงค์ให้ประชำชนตระหนักถึงอันตรำยของ PM และวิธีกำรป้องกันตนเอง
                                                      2.5
          เช่น กำรสวมหน้ำกำกอนำมัยที่มีประสิทธิภำพในกำรกรองฝุ่น จะช่วยลดควำมเสี่ยง
          ด้ำนสุขภำพได้

                 จัดท�ำสื่อประชำสัมพันธ์ผ่ำนช่องทำงกำรเผยแพร่ต่ำง ๆ เช่น ทีวี โซเชียลมีเดีย และ
          แอปพลิเคชัน เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับฝุ่น PM และวิธีกำรป้องกันตนเอง
                                         2.5
                 จัดกิจกรรมในโรงเรียนหรือชุมชน เช่น กำรปลูกต้นไม้ กำรอบรมควำมรู้ด้ำน
          สิ่งแวดล้อม เพื่อสร้ำงกำรมีส่วนร่วมในกำรลดมลพิษ
                 แจกหน้ำกำกอนำมัยมำตรฐำน N95 ให้ประชำชนในพื้นที่เสี่ยง

                 กระตุ้นกำรมีส่วนร่วมของภำคธุรกิจ: จัดมำตรกำรจูงใจ เช่น กำรลดภำษีให้กับ
          บริษัทที่ลดกำรปล่อยมลพิษ และสนับสนุนธุรกิจที่ใช้วัตถุดิบเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม











                                                                                     พัฒนำเทคโนโลยีระบบ AI (ปัญญำ
                                                                              ประดิษฐ์) ในกำรวิเครำะห์ข้อมูลและคำด
                                                                              กำรณ์สถำนกำรณ์ฝุน PM เพื่อวำงแผน
                                                                                                 2.5
                                                                              รับมือในพื้นที่เสี่ยง ซึ่ง AI สำมำรถน�ำมำใช้
                                                                              พยำกรณ์ล่วงหน้ำ 3-7 วัน ด้วยแบบจ�ำลอง
                                                                              กำรเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) จำก
                 รูปที่ 7 กำรรณรงค์งดเผำในพื้นที่เกษตรกรรม (ข้อมูลจำกกรมควบคุมมลพิษ)  ภำพถ่ำยของสภำพอำกำศ เพื่อกำรรำยงำนผล
                                                                              พร้อมระบบแจ้งเตือนอัตโนมัติเมื่อค่ำ PM
                                                                                                           2.5
                                                                              เกินค่ำมำตรฐำนที่ 37.5 ไมโครกรัม/ลบ.ม.
             7) การพัฒนาการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการ                       ยกตัวอย่ำงเทคโนโลยีแบบเกำหลีใต้ที่
          ควบคุมมลพิษ                                                         สำมำรถคำดกำรณ์ PM ได้ล่วงหน้ำ 5 วัน
                                                                                               2.5
                 พัฒนำระบบแจ้งเตือนคุณภำพอำกำศและแอปพลิเคชันมือถือ เพื่อให้ข้อมูลแก่ เพื่อช่วยให้รัฐบำลและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
          ประชำชนอย่ำงทันท่วงที                                               สำมำรถวำงแผนลดมลพิษได้ ส่วนรัฐบำล
                 พัฒนำเครือข่ำยระบบเซนเซอร์ IoT ในกำรตรวจจับมลพิษ PM ในพื้นที่เมืองใหญ่  จีนได้น�ำ  AI-powered  air  quality
                                                            2.5
          และพื้นที่อุตสำหกรรม เพื่อติดตำมแหล่งก�ำเนิดมลพิษแบบเรียลไทม์       management มำใช้โดยติดตั้งเซ็นเซอร์

                 พัฒนำระบบฐำนข้อมูลจำกดำวเทียมโดย GISDA โดยใช้เทคโนโลยีดำวเทียม  วัดคุณภำพอำกำศทั่วเมืองและใช้  AI
          มำช่วยจับควันไฟ และจุดควำมร้อนในพื้นที่ เพื่อลดกำรเผำในพื้นที่ (รูปที่ 8)  วิเครำะห์ข้อมูลแบบเรียลไทม์เพื่อตรวจจับ
                 ติดตั้งระบบโดรน (UAV) เพื่อตรวจสอบพื้นที่เผำในที่โล่งหรือพื้นที่เกษตรกรรม  แหล่งก�ำเนิดมลพิษ และออกมำตรกำร
          ที่เข้ำถึงได้ยำก                                                    ควบคุมที่ตรงจุดได้เป็นอย่ำงดี





          64                                                     ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 l วิศวกรรมสาร
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69