Page 31 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 31

คอลัมน์คลินิกช่าง















              จากรูป จะเห็นว่า หากเราวางฐานราก อยู่ในชั้นดินถม ที่ไม่มี         ฐานรากเสาเข็ม
            การบดอัด เมื่อเราสร้างบ้านไปแล้ว ตัวบ้านจะเกิดการทรุดตัวอย่าง
            รวดเร็ว เนื่องจากดินถม ที่ไม่มีการบดอัดตามมาตรฐาน จะเกิดการ    เป็นเสาเข็มสั้น หรือ เสาเข็มยาว ถ้าเป็นเสาเข็มยาว ที่ถ่ายน�้า

            ทรุดตัวอย่างรวดเร็ว                                หนักลงบนชั้นดินแข็ง จะไม่มีปัญหา แต่ถ้าเป็นเสาเข็มสั้น จะมี
                                                               ปัญหาตามมา ถ้าค�านวณความยาวของการรับน�้าหนักไม่ถูกต้อง




                      ฐานรากเสาเข็มสั้น


                 จากรูปด้านซ้าย เสาเข็มที่รับแรงจากแรงเสียดทานรอบ  อยู่ในดินถมใหม่ เราจะไม่ค�านวณแรงเสียดทานรอบเสาเข็มใน
               เสาเข็ม เราจะค�านวณจากระดับดินเดิมลงไป          ส่วนนี้

                 ในรูปด้านขวา ฐานรากที่วางอยู่ในดินถม เสาเข็มในส่วนที่   ดังนั้น ต้องสั่งความยาวเสาเข็มให้รวมความหนาดินถมใหม่
                                                               ด้วย

























                   ฐานรากเสาเข็มยาว


              กรณีเป็นเสาเข็มยาว เรื่องการรับน�้าหนักของเสาเข็ม จะมีปัญหาน้อยกว่า
            ถ้าเสาเข็มโดยรวมสามารถรับน�้าหนักได้มากพอ

              เนื่องจากการรับน�้าหนักจากแรงเสียดทานของเสาเข็ม ชั้นบนๆ ของดิน
            จะรับน�้าหนักได้ไม่มาก เมื่อเทียบกับชั้นล่าง ๆ และเมื่อรวมกับแรงแบกทาน
            ที่ชั้นดินแข็ง จะรับน�้าหนักได้เพียงพอ










              วิศวกรรมสาร                                                             ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567  31
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36