Page 35 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 35
การด�าเนินการเขตมลพิษต�่าในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
จากปัญหาดังกล่าว จึงมีการพัฒนาแนวคิดเขตมลพิษต�่าเพื่อ
ประยุกต์ใช้เป็นมาตรการหนึ่งส�าหรับการจัดการปัญหามลพิษ
อากาศซึ่งได้รับความสนใจจากนักวิชาการและหน่วยงานราชการ
หลายแห่ง ในประเทศไทย โดยช่วงประมาณปี พ.ศ. 2555
นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ในสมัยนั้น ได้มีข้อเสนอแนวทางที่น่าสนใจในการแก้ปัญหารถติด
ด้วยการเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียมรถยนต์ที่ขับเข้าไปในเขตเมือง
ชั้นใน [8-11] ซึ่งเป็นมาตรการที่น�ามาใช้ในหลายประเทศ และเสนอ
ให้น�าเงินรายได้ไปพัฒนาให้เกิดประโยชน์ โดยรัฐจะต้องพัฒนา
ระบบขนส่งมวลชนให้มีความพร้อมเชื่อมโยงเครือข่ายให้ดีขึ้นควบคู่
กันไป ปี พ.ศ. 2560 ส�านักงานนโยบายและแผนการขนส่งและ
จราจร (สนข.) ได้มีการศึกษาหลายด้านที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น
รายงานการศึกษาภายใต้โครงการสนับสนุนการพัฒนามาตรการ
การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีความท้าทายของภาค
การขนส่ง [12-13] จากข้อพิจารณาหลายด้าน ท�าให้การน�าแนวคิด
เขตมลพิษต�่ามาประยุกต์ใช้กับกรุงเทพมหานคร มีการปรับทิศทาง
แนวทางการด�าเนินงาน โดยในระยะแรกเป็นการก�าหนดเขตมลพิษ
ต�่าในพื้นที่ทดลอง และเน้นการประสานการปฏิบัติงานในพื้นที่ของ
เขตและความสมัครใจในการด�าเนินกิจกรรมลดมลพิษอากาศจาก กับ “แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 ในพื้นที่
สถานประกอบกิจการและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เป็นการมุ่งเน้น กรุงเทพมหานคร ปี 2567” ภายใต้แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระ
การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการด�าเนินกิจกรรมลดมลพิษ แห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษฝุ่นละออง”
อากาศ โดยในระยะแรกนี้ ยังไม่ได้น�ามาตรการการเก็บค่า
ธรรมเนียมการจราจรหนาแน่นมาด�าเนินการ ในปี พ.ศ. 2560
ส�านักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร ได้ศึกษาและคัดเลือกถนน 2. วัตถุประสงค์และขอบเขตการด�าเนินงาน
พญาไท เขตปทุมวัน ระยะทาง 1.4 กิโลเมตร จากแยกสามย่าน -
แยกปทุมวัน เป็นพื้นที่น�าร่องในการด�าเนินโครงการถนนอากาศ วัตถุประสงค์ในการด�าเนินงานโครงการเขตมลพิษต�่า มีดังนี้
สะอาด โดยได้จัดท�าแผนปฏิบัติการถนนอากาศสะอาด เขตปทุมวัน 1) เสริมสร้างการมีส่วนร่วมกับสังคมและกลุ่มเป้าหมายในการ
และขยายการด�าเนินการไปจนครบทั้ง 50 เขต และต่อมาในปี ท�างานระดับพื้นที่เขตมลพิษต�่า โดยความร่วมมือของภาคี
2565 ศูนย์วิชาการเพื่อขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหา เครือข่ายทุกภาคส่วน
มลพิษอากาศ (ศวอ.) ได้รับการสนับสนุนจากส�านักงานกองทุน 2) สื่อสาร เผยแพร่ความรู้ สร้างการมีส่วนร่วมกับสังคมและ
สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อด�าเนินการแนวคิดเขต
มลพิษต�่าเป็นกรณีศึกษา โดยด�าเนินการร่วมกับกรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมาย ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างมี
และได้เลือกเขตปทุมวันเป็นพื้นที่ทดลอง ซึ่งได้รับความสนใจและ ประสิทธิภาพ โดยที่ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนมีบทบาท
ประสบความส�าเร็จในระดับที่น่าพอใจ [14-18] จนมีการพิจารณา ความเป็นเจ้าของหรือผู้น�าในการผลักดันมาตรการและ
ขยายผลสู่โครงการเขตมลพิษต�่าในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ระยะที่ นโยบายในการป้องกันแก้ไขปัญหามลพิษเชิงพื้นที่
2 โดยขยายการด�าเนินงานในพื้นที่เขตปทุมวัน และเพิ่มพื้นที่ด�าเนิน โดยขอบเขตด�าเนินงาน ด�าเนินงานกับสถานประกอบกิจการ
การอีก 4 เขต ได้แก่ คลองสาน ป้อมปราบศัตรูพ่าย คลองเตย และ ศาสนสถานและสถานศึกษาที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม ในพื้นที่เขต
บางรัก ซึ่งถือว่าเป็นมาตรการในการร่วมผลักดันและบูรณาการการ ปทุมวัน ป้อมปราบศัตรูพ่าย คลองสาน คลองเตย และบางรัก และ
ด�าเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษอากาศอย่างเป็น ผลที่จะได้รับ คือ การลดปริมาณการเกิดฝุ่น PM ในกรุงเทพมหานคร
2.5
รูปธรรมและสามารถประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่นได้ต่อไป ซึ่งสอดคล้อง อีกด้วย
วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567 35