Page 5 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 5

FROM THE EDITOR














                                                      สวัสดีครับ สมาชิก วสท.  และผู้อ่านทุกท่าน











                                                      LEZ) มีที่มาจากต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศในทวีปยุโรป และสามารถใช้ร่วมกับ
              จากเหตุ Launching Gantry ถล่ม ในงาน     มาตรการจัดการอื่น เพื่อลดจ�านวนยานพาหนะประเภทต่าง ๆ ที่ผ่านเข้าออกในพื้นที่
            ก่อสร้างทางยกระดับ ถนนพระราม 2 เมื่อวันที่   โดยเฉพาะเขตพื้นที่การจราจรหนาแน่นในชั่วโมงเร่งด่วนหรือช่วงเวลาที่มีระดับมลพิษ
            29 พฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา เมื่อทีมกู้ภัยเข้าไป  อากาศสูง กิจกรรมในส่วนของศาสนสถานส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมการงดจุดธูป หรือ
            ในพื้นที่ พบว่ามีชิ้นส่วนวัสดุที่พังถล่ม ติดค้าง   ใช้ธูปที่สั้นลง ลดจ�านวนจุดธูปให้น้อยลง ควรมีการขยายผลการด�าเนินงานเขต
            อยู่ในที่เกิดเหตุ รวมทั้งยังมีผู้เสียชีวิตติดค้าง   มลพิษต�่าไปยังพื้นที่อื่น ๆ ในกรุงเทพมหานครหรือพื้นที่ที่มีปัญหามลพิษอากาศ
            ในที่เกิดเหตุ รวมทั้งมีโครงสร้าง Launching   รวมทั้งน�ามาตรการต่าง ๆ เช่น มาตรการทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ร่วมด้วย เพื่อให้
            Gantry และชิ้นงานคอนกรีตขนาดใหญ่ (Segment)    เห็นผลอย่างจริงจัง
            ปิดช่องทางการเข้าช่วยเหลือ และกีดขวางช่อง    “การใช้เสาท่อเหล็กกับงานก่อสร้างอาคารหลายชั้น” หากเราสามารถแก้ปัญหา
            ทางจราจร โดยในการเคลื่อนย้ายชิ้นส่วนขนาด  ด้านการต่อ  และการรับแรงที่ถ่ายจากพื้นคอนกรีตได้  การใช้เสาที่ผลิตจาก
            ใหญ่ที่มีน�้าหนักมาก ๆ ซึ่งอาจสูงถึงหลายสิบตัน  “ท่อเหล็กกล้าคาร์บอน” ก็น่าจะช่วย ลดขนาดมิติแต่ไม่ลดก�าลังรับแรงลงอันส่งผล
            หรือหลายร้อยตัน นอกจากต้องใช้บุคลากรที่มี  ท�าให้พื้นที่ใช้สอย พื้นที่ขาย พื้นที่เช่า เพิ่มสูงขึ้น ลดระยะเวลาในการก่อสร้างอย่าง
            ความช�านาญ การใช้เครื่องจักรกลหนัก หรือ   มีประสิทธิภาพ ลดระยะเวลาในขั้นตอนต่าง ๆ เช่น ไม้แบบ ผูกเหล็ก หย่อนเหล็กเสริม
            แม่แรงยก เช่น การใช้รถเครนขนาดใหญ่ในการช่วย   เทคอนกรีต รอคอนกรีตแข็งตัว ฯลฯ ลดปริมาณการใช้การเช่าเครน และลดปริมาณ
            ยกชิ้นวัสดุที่ถล่มหรือกีดขวางการเข้าช่วยเหลือ   แรงงานก่อสร้างที่นับวันจะหาได้ยากยิ่งขึ้น
            เพื่อให้ภารกิจกู้ภัยเป็นไปได้โดยสะดวก นับว่าเป็น    คอลัมน์คลินิกช่างเรื่อง “ถมดินแล้วสร้างบ้านเลย ระวังเสาเข็มสั้นเกินไป” ต้อง
            งานยกวัสดุด้วยรถเครนที่มีความซับซ้อนสูง และ  ค�านึงถึงเรื่องใดบ้าง มาอ่านได้ในบทความนี้ ส่วนคอลัมน์วิศวกรใช้ภาษาฉบับนี้ เป็น
            ต้องใช้การวางแผน ทักษะ และประสบการณ์ของ   เรื่อง “ย่อ .. ย่อ .. ย่อ (ชื่อประเทศ)” มารู้จักมาตรฐาน ISO 3166 ในการก�าหนด
            ผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในการร่วมด�าเนินการ   code ส�าหรับการย่อชื่อประเทศต่าง ๆ กันครับ รวมถึงข่าวสาร กิจกรรมต่าง ๆ
            บทความแรกในฉบับนี้ เป็นการถอดบทเรียนเรื่อง   ของ วสท. ในช่วงที่ผ่านมา
            “การยกวัสดุในงานกู้ภัยด้วยรถเครน: ขั้นตอนและ    ท่านที่ต้องการส่งบทความวิชาการด้านวิศวกรรมที่น่าสนใจลงตีพิมพ์
            ข้อควรระวัง และประสบการณ์ จากเหตุเครนถล่ม   ในวิศวกรรมสาร สามารถส่งบทความมาที่ eitmagazine@eit.or.th หรือหาก
            ถนนพระราม 2” มาเล่าให้พวกเราทราบกัน       ต้องการสนับสนุนลงโฆษณาในวิศวกรรมสารออนไลน์  กรุณาติดต่อได้ที่
              บทความ “การด�าเนินการเขตมลพิษต�่าในพื้นที่  0-2184-4600 ต่อ 225
            กรุงเทพมหานคร” มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้าง    กองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่านิตยสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ส�าหรับ
            การมีส่วนร่วมกับสังคมและกลุ่มเป้าหมายในการ  ผู้อ่านทุกท่าน และขอขอบคุณท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามวิศวกรรมสาร
            ท�างานระดับพื้นที่ในการแก้ไขปัญหามลพิษอากาศ   อย่างต่อเนื่อง
            มาตรการเขตมลพิษต�่า (Low Emission Zone,
                                                          รองศาสตราจารย์ ดร.สมิตร ส่งพิริยะกิจ
                                                          บรรณาธิการ

                          THE ENGINEERING INSTITUTE OF THAILAND
                          UNDER H.M. THE KING’S PATRONAGE



              วิศวกรรมสาร                                                             ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567  5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10