Page 10 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 10

บทความ “การยกวัสดุในงานกู้ภัยด้วยรถเครน: ขั้นตอนและข้อควรระวัง แลประสบการณ์ จากเหตุเครนถล่ม ถนนพระราม 2”

























                                                                                ภาพที่ 2: รถเครนหลัก 6 คันในงานรื้อย้าย
                                                                                ชิ้นส่วนวัสดุ @ เหตุเครนถล่ม พระราม 2


            รถเครนหรือรถปั้นจั่นเป็นหนึ่งในเครื่องจักรกลหนักที่มีขีดความ คอนกรีตมีน�้าหนักมากกว่า 100 ตันเลยทีเดียว นับว่าเป็นวัสดุที่มี
          สามารถในการยกวัสดุที่มีน�้าหนักมาก ในกรณีเหตุการณ์เครน น�้าหนักยกสูงมาก จากการลงพื้นที่และร่วมสังเกตการณ์งานกู้ภัย
          ก่อสร้างถล่มล่าสุดในย่านถนนพระราม 2 ล่าสุด เมื่อเช้ามืด วันที่  ด้วยรถเครนจากเหตุการณ์เครนถล่มดังกล่าวข้างต้น พบว่ามีข้อมูล
          29 พ.ย. 2567 จะเห็นได้มีการใช้รถเครนขนาดใหญ่ในการเข้าร่วม ที่น่าสนใจและข้อควรระวังส�าหรับการใช้งานรถเครนในการกู้ภัย
          เก็บกู้ชิ้นส่วนวัสดุที่พังถล่ม ซึ่งชิ้นงานที่พังถล่ม บางชิ้นมีน�้าหนักสูง โดยจะอ้างอิงข้อมูลจากสภาพหน้างานและตารางพิกัดยก (Crane

          ถึง 100 ตันต่อชิ้นงาน และโครงสร้างเครนก่อสร้างที่เรียกว่า  Load Chart) ของรถเครนขนาด 550 ตัน (All Terrain Crane
          Launching Gantry ที่ถล่มเสียรูปติดค้างบนคานและโครงสร้าง TADANO Model AR5500M) เป็นหลัก ดังนี้




























                             ภาพที่ 3: ตารางพิกัดยกของรถเครน All Terrain Crane ‘TADANO’ Model AR-5500M
















        10   ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567                                               วิศวกรรมสาร
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15