Page 30 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 30
จากโซลาร์ฟาร์มสู่โซลาร์ลอยน�้า และระบบผลิตไฟฟ้าแบบไฮบริด
ในแง่สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีการผลิตพลังงานที่ปลดปล่อยคาร์บอนต�่า เมื่อไม่นานมานี้ โซลาร์ฟาร์มขนาด 84 เมกะวัตต์ ได้ถูกติดตั้งที่
เช่น โซลาร์เซลล์นี้ เป็นสิ่งที่จ�าเป็นอย่างมากที่ต้องถูกน�ามาใช้ จังหวัดลพบุรี และถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบผลิตไฟฟ้าในประเทศ
อย่างเร่งด่วนในการจ�ากัดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยในปี พ.ศ. 2564 โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบ
ส�าหรับประเทศไทยของเรา ก็มีแผนที่จะติดตั้งโซลาร์ฟาร์ม ไฮบริดที่ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งก็คือฟาร์มพลังงานแสงอาทิตย์ลอยน�้า
ให้มากถึง 6 GW ในปี ค.ศ. 2036 โดยสถานที่ที่เหมาะสมในการ สิรินธรได้เริ่มด�าเนินการ
ติดตั้งโซลาร์ฟาร์มจะถูกประเมินเบื้องต้นจากแผนที่ศักยภาพ
ในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (ดูรูปที่ 2) โดยประเทศไทย
มีศักยภาพแสงอาทิตย์ที่ดีในภาคใต้บริเวณที่ติดทะเล ภาคอีสาน โซลาร์ฟาร์มลอยน�้าที่ใหญ่ที่สุด
และบางพื้นที่ในภาคกลาง ในแง่ของศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศไทย
ประเทศไทยยังน้อยกว่าประเทศสหรัฐอเมริกาและอินเดีย แต่เหนือ
กว่าหลายประเทศรวมถึงญี่ปุ่น [7] ในปี พ.ศ. 2564 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ.
ได้ติดตั้งโซลาร์ฟาร์มบนผิวน�้าของเขื่อนสิรินธร ซึ่งเป็นเขื่อนที่ใช้
ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน�้าอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งโซลาร์ฟาร์มนี้ นอกจาก
จะผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ในตอนกลางวันแล้ว ในช่วง
เวลาที่ไม่มีแสงอาทิตย์ ยังสามารถน�าไฟฟ้าพลังน�้าของเขื่อนมา
ผสมผสานเป็นเทคโนโลยีไฮบริดในการผลิตไฟฟ้าได้อีกด้วย ซึ่ง
การด�าเนินการลักษณะนี้ท�าให้ กฟผ. เป็นหน่วยงานแรกที่รวม
การใช้เทคโนโลยีโซลาร์ฟาร์มแบบลอยน�้าเข้ากับไฟฟ้าพลังน�้าเพื่อ
ผลิตไฟฟ้า ซึ่งถือเป็นระบบผลิตไฟฟ้าแบบไฮบริดของโซลาร์ฟาร์ม
ลอยน�้าและพลังงานน�้าที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในปัจจุบันนี้
รูปที่ 2 แผนที่ศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
(ภาพจาก [6])
30 วิศวกรรมสาร
ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566