Page 27 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 27

ความรู้ที่ผิดในงานโครงสร้างอาคาร



               เรื่องการเสริมเหล็กฐานราก ก็เป็นอีกเรื่องที่ส�าคัญ มีการให้ความรู้เรื่องการเสริม เสาเข็ม (จากรูป) การก�าหนดให้ฐานราก
            เหล็กที่ไม่ถูกต้อง                                                  ใหญ่กว่าเสาเข็มมาก ๆ ไม่ได้ประโยชน์
              ส�าหรับเสาเข็ม 1 ต้น การเสริมเหล็กในฐานรากเสาเข็มเดี่ยวสามารถท�าได้ทั้งคว�่าหรือ อะไร และจะท�าให้การรับแรงของเสาเข็ม
            หงาย โดยที่ฐานรากของเสาเข็ม 1 ต้น ไม่ได้ถูกออกแบบให้สามารถรับแรงโมเมนต์ การ ลดลงด้วย เนื่องจากน�้าหนักของฐานรากที่

            ออกแบบก็เพื่อให้เสาเข็มสามารถรับแรงที่ถ่ายจากเสาของอาคารเท่านั้น    ใหญ่และหนักไปถ่วงที่เสาเข็ม




                                                                                   คานใหญ่ ๆ ไม่ได้สามารถรับ
                                                                                   อาคารหลายชั้น


                                                                                  คานคือองค์อาคารในแนวราบมีหน้าที่

                  ฐานรากเสาเข็ม 1 ต้น               ฐานรากเสาเข็ม 2 ต้น         รับน�้าหนักจากพื้นและผนังแล้วส่งถ่ายลง
                                                                                สู่เสา จากแบบแปลนในแต่ละชั้นจะแสดง
              การเสริมเหล็กของฐานรากส�าหรับเสา                                  คานอยู่ที่ขอบของพื้น หรือรองรับอยู่ใต้ผนัง
            เข็มตั้งแต่ 2 ต้นขึ้นไป การเสริมเหล็กเป็น                           คานหลักจะวิ่งผ่านหัวเสาที่เป็นจุดรองรับ
            แบบหงายเท่านั้น เพราะในการออกแบบ                                    และคานย่อยจะพาดอยู่ระหว่างคานหลักที่

            เราจะมีการค�านวณความลึกของฐานราก                                    เป็นจุดรองรับ คานมีหน้าที่รับแรงแต่ละชั้น
            และความลึกของเหล็กจากระดับหลังของ                                   เพื่อที่จะถ่ายน�้าหนักลงเสา ส่วนเสามีหน้าที่
            ฐานราก หากเราหงายเหล็กขึ้นระยะความ                                  รวบรวมน�้าหนักของแต่ละชั้นสะสมเพิ่มขึ้น
            ลึกของเหล็กจะไม่ได้ตามแบบและแรงที่                                  โดยเสาตอม่อจะรับน�้าหนักมากที่สุดโดย
            ค�านวณไว้ก็ไม่สามารถรับได้ด้วย การคว�่า                             รวบรวมน�้าหนักของแต่ละชั้น เพื่อที่จะถ่าย
            ตะกร้อฐานราก ส�าหรับฐานรากเสาเข็ม                                   น�้าหนักไปที่ฐานรากเพื่อกระจายน�้าหนักลง

            2 ต้น อันตรายมาก                                                    เสาเข็มต่อไป
                                                                                  จะเห็นว่า จากขั้นตอนการการถ่ายน�้า
                                                                                หนักดังกล่าว การที่มีคานใหญ่ ๆ ไม่ได้
               ฐานรากใหญ่กว่าเสาเข็มมาก ๆ มีประโยชน์หรือไม่                     ท�าให้อาคารสามารถสร้างได้หลายชั้น เสา
                                                                                ฐานราก และ เสาเข็ม เป็นตัวก�าหนดว่า
              การถ่ายน�้าหนักของเสาเข็ม ฐานรากเสาเข็มรับน�้าหนักบรรทุกจากเสา และแรงปฏิกิริยา  อาคารจะสามารถสร้างได้กี่ชั้น

            ต้านทานจากเสาเข็มมีลักษณะเหมือนคานรับแรงกระท�าเป็นจุด ดังเช่นในรูปข้างล่าง
            น�้าหนักบรรทุกจะท�าให้ฐานแอ่นตัวจึงต้อง
            เสริมเหล็กด้านล่าง และพยายามให้เสาเข็ม
            อยู่ใกล้กันมากที่สุดเพื่อลดแรงภายในและ
            จ�ากัดขนาดฐานรากโดยระยะห่างระหว่าง

            เสาเข็มจะอยู่ที่ 3 เท่าของขนาดเสาเข็ม (D)
              จะเห็นว่า น�้าหนักทั้งหมดของอาคาร
            จะถ่ายให้เสาเข็มที่มารับแรง ซึ่งจะไป
            ค�านวณหาความหนาของฐานรากและ
            เหล็กเสริมต่อไป โดยที่ขนาดของฐานราก

            โดยทั่วไปจะอยู่ที่ 1.5 เท่าของเส้นผ่า
            ศูนย์กลางเสาเข็ม โดยวัดจากศูนย์กลาง

                                                                                                    วิศวกรรมสาร  27 27
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32