Page 28 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 28
เทคโนโลยีน่ารู้
รองศาสตราจารย์ ดร.สุวิทย์ กิระวิทยา อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จากโซลาร์ฟาร์มสู่โซลาร์ลอยน�้า
และระบบผลิตไฟฟ้าแบบไฮบริด
From Solar Farm to Floating Solar and
Hybrid Generating System
โซลาร์ลอยน�้า
สวัสดีครับทุกท่าน ในคอลัมน์เทคโนโลยี
น่ารู้ฉบับนี้ จะขอกล่าวถึงโซลาฟาร์มและ
ข้อมูลที่น่าสนใจของระบบผลิตไฟฟ้าแบบ
ไฮบริดโซลาร์ลอยน�้าและพลังงานน�้า ที่ใหญ่
ที่สุดในโลกของประเทศไทย ที่ติดตั้งอยู่ที่
เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี [1]
พลังงานจากแสงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานขนาดใหญ่
ที่ส่งพลังงานมายังโลกของเราตลอดเวลา
และท�าให้เกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ มากมาย
การใช้แสงอาทิตย์ในกิจกรรมในชีวิตประจ�า
วันเป็นสิ่งที่มนุษย์ท�ากันมาอย่างยาวนาน ด้วยสารกึ่งตัวน�า โดยในปัจจุบัน โซลาเซลล์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายก็สร้างจากแผ่น
โดยนักวิทยาศาสตร์รู้จักปรากฎการณ์การ ผลึกซิลิคอน ซึ่งเป็นธาตุเดียวกันกับวัสดุตั้งต้นในการท�าวงจรรวม
แปลงพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้ากัน เทคโนโลยีในการแปลงพลังงานจากแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า [2] ท�าได้ทั้งแบบ
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1839 หรือเกือบสองร้อยปีก่อน โดยตรง โดยใช้โซลาร์เซลล์ และ แบบโดยอ้อมโดยใช้การรวมแสงอาทิตย์ให้มีความเข้ม
โดยนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศลชื่อ เอ็ดมูนด์ สูงมาก ในแบบโดยตรง โซลาร์เซลล์เปลี่ยนแสงเป็นกระแสไฟฟ้าโดยใช้ปรากฏการณ์
เบคคิวเรล (Edmund Becquerel) แต่ โฟโตโวลทาอิก (photovoltaic effect) และ ในแบบโดยอ้อม ระบบรวมแสงอาทิตย์ให้มี
เทคโนโลยีการสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถ ความเข้มสูงที่มักจะใช้เลนส์หรือกระจกจะถูกติดตั้งร่วมกับระบบติดตามแสงอาทิตย์เพื่อ
แปลงพลังงานแสงอาทิตย์มาเป็นพลังงาน รวมแสงอาทิตย์ในบริเวณกว้างไปยังจุดโฟกัสหรือจุดร้อน ซึ่งเรามักจะน�าพลังงานความร้อน
ไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น เริ่มต้น ที่ได้จากแสงอาทิตย์นี้ไปขับเคลื่อนกังหันไอน�้าและผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าต่อไป เทคโนโลยี
และถูกพัฒนาขนานกันไปกับเทคโนโลยี ทั้งสองนี้แตกต่างกันอย่างมากในรายละเอียด โดยส�าหรับโซลาร์ฟาร์มนั้นมักจะหมายถึง
ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ ที่เราใช้สร้างวงจรรวม การแปลงพลังงานแบบโดยตรง
28 วิศวกรรมสาร
ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566