Page 31 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
P. 31

จากโซลาร์ฟาร์มสู่โซลาร์ลอยน�้า และระบบผลิตไฟฟ้าแบบไฮบริด



                                                                                ความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยของ
                                                                                อุปทานสูงสุด โดยระบบพลังงานหมุนเวียน
                                                                                แบบไฮบริดก�าลังเป็นที่นิยมในฐานะระบบ
                                                                                ไฟฟ้าแบบแยกโดดส�าหรับการจ่ายไฟฟ้า
                                                                                ในพื้นที่ห่างไกลให้มีเสถียรภาพที่สูง

                                                                                เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
                                                                                พลังงานหมุนเวียนและราคาน�้ามันที่สูง
                                                                                ขึ้นตามมา ระบบพลังงานแบบไฮบริดหรือ
                                                                                พลังงานแบบไฮบริดมักจะประกอบด้วย
                                                                                แหล่งพลังงานหมุนเวียนสองแหล่งหรือ
                                                                                มากกว่าที่ใช้ร่วมกันเพื่อให้ระบบมี

                                                                                ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีความสมดุล
                            รูปที่ 3 ภาพถ่ายมุมสูงเหนือเขื่อนสิรินธร (จาก [1])  มากขึ้นในการจัดหาพลังงาน

                                                                                  ในอนาคตเราจึงเชื่อว่า ระบบไฮบริด
                                                                                ในลักษณะต่าง ๆ จะถูกพัฒนาและใช้งาน
                ข้อดีหรือจุดแข็งของระบบไฮบริดนี้ คือ                            กันอย่างแพร่หลายมากขึ้น เช่นเดียวกันกับ
                  1. ต้นทุนต�่า เนื่องจากมีก�าลังการผลิตขนาดใหญ่ (45 เมกะวัตต์)
                และใช้โครงสร้างพื้นฐานด้านระบบไฟเดิมของ กฟผ. ที่มีอยู่ เช่น     เทคโนโลยีด้านอื่น ๆ เช่น ไอโอที และ เอไอ
                ระบบสายส่ง หม้อแปลงไฟฟ้า และใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด     ที่ก�าลังพัฒนาอยู่ในปัจจุบัน

                  2. เสริมความมั่นคงทางไฟฟ้าควบคู่กับระบบกักเก็บพลังงาน
                  3. ไม่มีผลกระทบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เนื่องจาก
                (1) การติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ลอยน�้าบนผิวน�้าของเขื่อน ไม่ส่งผล       รายการอ้างอิง
                กระทบต่อพื้นที่การเกษตร เส้นทางเดินเรือของชุมชน และกิจกรรม
                ในชีวิตประจ�าวันของชาวบ้าน (2) ใช้เทคโนโลยีการส�ารวจและตรวจสอบ  [1] https://www.egat.co.th/home/
                สิ่งแวดล้อม เช่น ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และหุ่นยนต์ใต้น�้า (3)      en/the-worlds-largest-hydro-
                อุปกรณ์ที่ใช้ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ลอยน�้าท�าจากวัสดุชนิดเดียวกับ     floating-solar-hybrid/
                ท่อประปาซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม                              [2] https://en.wikipedia.org/wiki/
                                                                                  Solar_power
                                                                                [3] https://en.wikipedia.org/wiki/

                                                                                  Scientific_calculator
                ระบบผลิตไฟฟ้าแบบไฮบริดโดยทั่วไป                                 [4] https://en.wikipedia.org/wiki/
                                                                                  Solar-powered_watch
              ระบบไฮบริด (Hybrid System) หรืออาจแปลว่า ระบบผสมผสาน หมายถึง ระบบ  [5] https://www.shutterstock.com/

            ที่มีการรวมโหมดการผลิตไฟฟ้าตั้งแต่สองโหมดขึ้นไปเข้าด้วยกัน โดยปกติแล้วจะใช้กับ  [6] https://solargis.com/maps-and-
            เทคโนโลยีการผลิดพลังงานหมุนเวียน เช่น โซลาร์เซลล์และกังหันลม ระบบไฮบริดให้    gis-data/download/thailand
            ความมั่นคงด้านพลังงานในระดับสูงผ่านการผสมผสานวิธีการที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า และ  [7] http://weben.dede.go.th/webmax/
            บ่อยครั้งระบบนี้จะมีระบบจัดเก็บพลังงานด้วย เช่น แบตเตอรี่ หรือเซลล์เชื้อเพลิง หรือ    content/areas-solar-power-
            อาจใช้ร่วมกับเครื่องก�าเนิดไฟฟ้าขนาดเล็กที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล (น�้ามัน) เพื่อให้มั่นใจถึง    potential








                                                                                                    วิศวกรรมสาร  31
                                                                                       ปีที่ 76 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2566
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36