Page 10 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 10

ศ.ดร.วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย ราชบัณฑิต

































          บทเรียนกรณีไฟไหม้ MOUNTAIN B













               ตามที่ทราบโดยทั่วกันแล้วว่า การเผาไหม้ หรือเพลิงไหม้นั้นเกิดขึ้นได้ จะต้องมีองค์ประกอบส�าคัญ 3 ประการ

             ได้แก่ แหล่งความร้อน เชื้อเพลิง และออกซิเจน ดังนั้น มาตรการการป้องกันเพลิงลุกไหม้ คือ การควบคุม
             3 องค์ประกอบนี้ให้แยกจากกัน





            โดยธรรมชำติกำรเผำไหม้เมื่อไฟจุดติดแล้วจะมอดได้มีอยู่สอง  กระบวนกำรเปลี่ยนสภำพเชื้อเพลิงด้วยควำมร้อนโดยไม่ต้องมีกำร
          กรณี กรณีแรกคือเชื้อเพลิงถูกไหม้จนหมด หรือ กรณีที่สอง ออกซิเจน  เผำไหม้ ให้กลำยสภำพเป็นถ่ำน (Charcoal) น�้ำมันดิน (Bio-oil)

          ถูกใช้จนหมด ในกรณีหลัง มักเป็นไฟไหม้ในอำคำรที่ปิดทึบและขำด  และก๊ำซพิษที่ไม่สำมำรถควบแน่นได้ (non-condensable gas)
          กำรถ่ำยเทตำมธรรมชำติ แต่อำศัยระบบปรับอำกำศซึ่งหยุดท�ำงำนใน  ล้วนมีค่ำทำงควำมร้อนสูงมำกและพร้อมจะเกิดเพลิงไหม้ประทุอย่ำง
          ระหว่ำงเพลิงไหม้  เมื่อออกซิเจนที่มีอยู่ถูกใช้ในกำรเผำไหม้จนเหลือ  รุนแรงทันทีที่มีออกซิเจนกลับเข้ำมำใหม่ทำงช่องเปิด โดยจะเกิด
          จ�ำกัด ไฟก็จะค่อย ๆ มอดลง แต่ด้วยควำมร้อนที่เกิดขึ้นจำกเชื้อเพลิง  ระเบิดเป็นลูกไฟ (Fireball) พุ่งสวนออกมำในช่องเปิดอย่ำงรุนแรง
          ที่ไหม้ไปบำงส่วนกลับมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นในพื้นที่ที่ไม่มีทำงระบำย  ปรำกฏกำรณ์ข้ำงต้นนี้ เรียกว่ำ Backdraft ซึ่งเกิดขึ้นแล้วในกรณี
          จนท�ำให้เกิดขบวนกำรที่เรียกว่ำ ไพโรไลซิส (Pyrolysis) ซึ่งเป็น  เพลิงไหม้ Mountain B Pub ที่สัตหีบเป็นครั้งแรกในประเทศไทย












          10 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2565
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15