Page 11 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 11

บทเรียนกรณีไฟไหม้ Mountain B




            ปรากฏการณ์ Backdraft






























              อำคำรผับแห่งนี้ เป็นอำคำรที่ปิดทึบและมีวัสดุเชื้อเพลิงมำกมำย เช่น วัสดุฝ้ำและผนัง

            ฟองน�้ำรังไข่ซับเสียง ที่แต่เดิมอำคำรนี้ได้ขออนุญำตเป็นร้ำนอำหำรเท่ำนั้น แต่กลับเปลี่ยน
            เป็นสถำนบริกำรที่เรียกว่ำ Pub มีกำรบรรเลงดนตรีที่ส่งเสียงดังมำก จึงใช้วัสดุที่ติดไฟง่ำย
            ไปอุดตำมช่องว่ำงต่ำง ๆ บริเวณผนัง เพื่อไม่ให้เสียงลอดออกไปได้ ท�ำให้เป็นเชื้อเพลิงอย่ำงดี
              จำกกำรตรวจสอบของ”สมำคมผู้ตรวจสอบอำคำร” เชื่อว่ำ กำรลุกของไฟในเบื้องต้นอำจ
            เกิดจำกประกำยควำมร้อนเนื่องจำกไฟฟ้ำลัดวงจร เมื่อเกิดเพลิงไหม้ในระยะแรก เพลิงไหม้
            ลุกลำมอย่ำงรวดเร็วด้วยเชื้อเพลิงจ�ำนวนมำกในอำคำร เมื่อไหม้ไปสักพักหนึ่ง ออกซิเจนใน

            อำคำรถูกดึงมำใช้ในกำรเผำไหม้จนเหลือน้อยลง ไฟก็ค่อย ๆ มอด ต่อมำเป็นไปได้ว่ำ หลังคำ
            อำคำรทนควำมร้อนไม่ได้ เกิดทะลุหรือพังทลำยลงมำ ท�ำให้เกิดเป็นช่องเปิดน�ำเอำออกซิเจน
            เข้ำมำเติมในอำคำร เชื้อเพลิงที่อยู่ในสภำพก๊ำซพิษหลังไพโรไลซิส เกิดประทุอย่ำงรุนแรง จน
            ระเบิดเป็นลูกไฟพุ่งออกจำกหลังคำอำคำรอย่ำงรวดเร็วและรุนแรงพร้อมด้วยควันดอกเห็ด
            ที่ปรำกฏเป็นสีน�้ำตำลหรือสีด�ำ เต็มไปด้วยเขม่ำจำกกำรเผำไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เมื่อมองจำก

            ภำยนอก
            ปรำกฏกำรณ์ Backdraft นี้จะไม่เกิด ถ้ำสถำนบริกำรแห่งนี้ด�ำเนินกำรตำมกฎหมำย ที่ให้
            อำคำรทึบที่ไม่มีช่องระบำยอำกำศสู่ภำยนอกโดยตรง ต้องมีกำรติดตั้งระบบควบคุมกำร
            แพร่กระจำยของควัน เช่น พัดลมส�ำหรับดูดควันไฟออกจำกพื้นที่ในขณะเกิดเพลิงไหม้ สำย
            ไฟฟ้ำของระบบควบคุมกำรแพร่กระจำยของควันจะต้องเป็นชนิดทนไฟได้ไม่น้อยกว่ำหนึ่ง
            ชั่วโมงตำมมำตรฐำน














                                                                                   ปีที่ 75 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2565  วิศวกรรมสาร  11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16