Page 13 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 13

บทเรียนกรณีไฟไหม้ Mountain B



























                                                                                   กำรสรุปบทเรียนเหตุกำรณ์เพลิงไหม้ใหญ่
                                                                                   ในประเทศไทยสองครั้ง ได้แก่ ไฟไหม้โรงงำน

                                                                                   ตุ๊กตำเคเดอร์ เมื่อวันที่ 10 พฤษภำคม
                                                                                   พ.ศ. 2536 และโรงแรงรอยัลจอมเทียน
                                                                                   เมื่อวันที่ 11 กรกฎำคม พ.ศ. 2540 ซึ่งทั้ง
                                                                                   สองเหตุกำรณ์มีผู้เสียชีวิตเป็นจ�ำนวนมำก
                                                                                   ต่อมำได้ท�ำเรื่องเสนอต่อรัฐบำลผ่ำน

                                                                                   คณะกรรมกำรป้องกันอุบัติภัยแห่งชำติ ซึ่ง
                                                                                   ผมเป็นประธำนอนุกรรมกำรป้องกันอัคคีภัย
                                                                                   ในอำคำรในขณะนั้น หลังจำกผลักดันให้
                                                                                   มีกำรออกกฎหมำยกำรตรวจสอบอำคำร
                                                                                   ในปี 2540 แล้ว ก็ได้มีกำรจัดฝึกอบรม
                                                                                   ผู้ตรวจสอบอำคำร  โดยมี  คุณพิชญะ

                                                                                   จันทรำนุวัฒน์ เป็นหัวเรือใหญ่ จนเติบโต
              สุดท้ำย ผมขออนุญำตให้ค�ำแนะน�ำผู้ที่จะไปใช้สถำนบริกำรและแหล่งบันเทิงประเภท  จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อเป็น สมำคมผู้ตรวจ
            ชุมนุมคนในอำคำรต่ำง ๆ ที่ปิดล้อมทึบเช่นนี้ว่ำ สิ่งแรกที่ท่ำนควรจะท�ำ คือ กำรส�ำรวจ  สอบอำคำร โดยมีกำรจัดอบรมให้ควำมรู้
            ทำงเข้ำทำงออกของอำคำรว่ำมีกี่ช่องทำง และลองซ้อมว่ำ ถ้ำเกิดเพลิงไหม้และท่ำนจะต้อง  ทำงด้ำนงำนตรวจอำคำร ตรวจพลังงำน
            หนีไฟออกในแต่ละช่องทำง ท่ำมกลำงควำมมืดและควำมชุลมุนนั้น ท่ำนสำมำรถน�ำตัวท่ำน  ด้ำนไฟฟ้ำ ด้ำนงำนวิศวกรรม เผยแพร่

            ออกจำกอำคำรได้ภำยใน 3 นำทีตำมมำตรฐำนได้หรือไม่ ถ้ำท�ำไม่ได้ ท่ำนไม่ควรใช้บริกำร  ประชำสัมพันธ์และเสริมสร้ำงบรรทัดฐำน
            และควรออกจำกสถำนบริกำรและแหล่งบันเทิงนั้นทันที                         ส่งเสริมกิจกรรมเกี่ยวกับกฎหมำยกำร
              หมำยเหตุ: สมำคมผู้ตรวจสอบอำคำร เดิมใช้ชื่อว่ำ ชมรมผู้ตรวจสอบและบริหำร  ตรวจสอบอำคำรให้ถูกน�ำมำใช้อย่ำงเต็ม
            ควำมปลอดภัยอำคำร ซึ่งผมและกรรมกำร ในคณะกรรมกำรอัคคีภัยของวิศวกรรมสถำน  ประสิทธิภำพและยกระดับควำมปลอดภัย
            แห่งประเทศไทย ในพระบรมรำชูปถัมภ์ (ประมำณปี พ.ศ. 2540) ได้ก่อตั้งขึ้น โดยเริ่มจำก  อำคำรในประเทศไทยให้เทียบเท่ำสำกล


                                                ศ.ดร.วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย ราชบัณฑิต

                                     ผู้อ�ำนวยกำร สถำบันนวัตกรรมบูรณำกำรแห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย
                                                ที่ปรึกษำอำวุโส สมำคมผู้ตรวจสอบอำคำร



                                                                                  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565  วิศวกรรมสาร 13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18