Page 12 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2565
P. 12

บทเรียนกรณีไฟไหม้ Mountain B











          บทสรุปเหตุกำรณ์ไฟไหม้ครั้งนี้นับว่ำเป็นบทเรียนที่ชัดเจนมำก
          ส�ำหรับกำรไม่ปฏิบัติตำม “หลักกำรพื้นฐำนของกำรบริหำรควำม
          ปลอดภัยจำกอัคคีภัย” ทุกขั้นตอน ซึ่งผมพอสรุปให้เข้ำใจง่ำย ๆ ดังนี้

               (1) ขั้นตอนกำรป้องกันเพลิงไหม้ - มำตรกำร คือ กำรแยกเชื้อ
          เพลิงออกจำกแหล่งควำมร้อน กรณีอำคำรประเภทที่มีกิจกรรม
          ชุมนุมชน และไม่สำมำรถควบคุมแหล่งควำมร้อนได้เต็มร้อยเปอร์เซ็นต์
          แนวทำงปฏิบัติเพื่อลดควำมเสี่ยงคือ กำรงดใช้วัสดุ (เชื้อเพลิง)
          ที่ติดไฟได้ ตำมกฎหมำยที่ก�ำหนดไว้แล้วว่ำ “อำคำรสถำนบริกำรจะ

          ต้องใช้วัสดุตกแต่งภำยในและผนังกันเสียงที่ไม่ติดไฟ” นอกจำกนี้
          ระบบไฟฟ้ำต้องตัดไฟฟ้ำอัตโนมัติทันที เมื่อมีไฟฟ้ำรั่ว เพื่อกัน
          ประกำยควำมร้อน


                                                                (3) ระบบช่วยชีวิตคนในอำคำร - สถำนบริกำรที่มีกำรชุมนุมคน
                                                              ลักษณะนี้ จะต้องมีระบบส่งสัญญำณเตือนเหตุเพลิงไหม้ และ
                                                              ระบบแสงสว่ำงฉุกเฉิน ที่ส�ำคัญที่สุดคือ ช่องทำงหนีไฟออกสู่นอก
                                                              อำคำรต้องเป็นไปตำมมำตรฐำน ที่ก�ำหนดให้ ผู้ติดอยู่ในอำคำร
                                                              ในขณะเพลิงไหม้สำมำรถออกสู่นอกอำคำรได้ภำยใน 3 นำที ส�ำหรับ
                                                              สถำนบริกำร Mountain B แห่งนี้ ค�ำนวณไว้ว่ำสำมำรถบรรจุผู้ใช้
                                                              บริกำรได้รำว 200-400 คน ดังนั้นช่องทำงออกจะต้องมีไม่น้อยกว่ำ

                                                              3 ประตู แต่ละประตูต้องกว้ำงอย่ำงน้อย 3 เมตร





















            (2) ระบบป้องกันไฟลำม -  ทันทีที่เกิดเหตุไฟลุก อำคำรจะต้อง

          จัดให้มีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ เช่น ระบบหัวกระจำยน�้ำดับเพลิงที่
          สำมำรถท�ำงำนได้ด้วยตัวเองทันที โดยครอบคลุมพื้นที่สถำนบริกำร
          ทั้งหมด อีกทั้งต้องติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงตำมจุดต่ำง ๆ ทั้งนี้เพื่อ
          จ�ำกัดพื้นที่กำรลำมของเพลิงไหม้


          12 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2565
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17