Page 105 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 105

ในคอลัมน์นี้ ที่น�าเสนอในฉบับก่อนหน้านี้ได้มีการกล่าวถึงไอโอทีไว้บ้างแล้ว ดังนี้ใน
            บทความนี้ผู้เขียนจะไม่อธิบายลงลึกถึงความหมายของไอโอที แต่จะกล่าวถึงการประยุกต์ใช้
            งาน การพัฒนาไอโอทีส�าหรับการจัดท�าระบบติดตามและเตือนภัยจากภัยพิบัติทางน�้า



                 หลักการแนวคิดในการพัฒนาระบบติดตามและเตือนภัยโดยใช้เทคโนโลยีของ
               อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (ไอโอที) มีอยู่สามส่วนหลัก ๆ คือ
                 1. ตรวจสอบ
                 2. วิเคราะห์ข้อมูลและจัดเก็บลงในระบบฐานข้อมูล (ส�าหรับการเก็บและแสดง
               สถิติย้อนหลัง)
                 3. แจ้งเตือนผ่านเครือข่ายเซนเซอร์ไร้สาย (Wireless Sensor Networks) ไปยัง

               ผู้รับ หรือผู้ใช้งานทั่วไป




              โดยอุปกรณ์หลัก ๆ ในการพัฒนาระบบติดตามและเตือนภัยจะประกอบไปด้วย        จากภาพ การท�างานของระบบคือจะ
              1. หัวเซนเซอร์ (อุปกรณ์เซนเซอร์) ส�าหรับวัดค่าต่าง ๆ เช่น เซนเซอร์วัดค่าอุณหภูมิ  ใช้พลังงานไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์เก็บไฟไว้ที่

            ความชื้นในอากาศ เซนเซอร์วัดคุณภาพน�้า ฯลฯ ซึ่งการท�างานของหัวเซนเซอร์คือ   แบตเตอรี่ ขนาด 12 โวลต์ เพื่อจ่ายไฟไป
            จะมีหน้าที่ตรวจวัดค่าตามชนิดของหัวเซนเซอร์นั่น ๆ และส่งค่าไปให้บอร์ดคอนโทรลเลอร์  ยังตู้คอนโทรลเลอร์ จากนั้นเซนเซอร์ก็จะ
              2. บอร์ดควบคุม ที่ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ทั้งนี้ เพื่อใช้ส�าหรับการโปรแกรม ค�าสั่งต่าง ๆ   ท�าการตรวจวัดระดับน�้า โดยจะแบ่งการ
            เข้าไป เช่นการป้อนค�าสั่งให้อ่านค่าจากเซนเซอร์ ทุก ๆ ชั่วโมง และให้ส่งข้อมูลที่อ่านได้  เตือนภัยออกเป็น 2 ระดับคือ ระดับเตรียม
            ไปเก็บไว้ในเครื่องแม่ข่าย (Server) ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต และใช้ส�าหรับการป้อนค�าสั่ง  พร้อมรับมือ และระดับวิกฤต  หากระดับน�้า
            ควบคุมต่าง ๆ เช่นเปิด/ปิดระบบไฟ แจ้งเตือนไปยังไลน์ SMS หรือผ่านแอปพลิเคชัน  ถึงจุดเตือนภัยที่เราก�าหนดไว้ (โดยค่านี้จะ
            บนสมาร์ทโฟน ฯลฯ                                                       น�ามาจากการลงพื้นที่ส�ารวจ หรือจากการ

              3. ระบบไฟส�าหรับจ่ายให้บอร์ดคอนโทรลเลอร์ อาจจะใช้ไฟบ้าน แบตเตอรี่ ฯลฯ   สอบถามจากผู้น�าชมชนที่มีประสบการณ์
            ขึ้นอยู่กับขนาดก�าลังไฟที่ต้องการใช้                                  ที่สามารถบอกได้ว่าระดับใดที่น�้าจะท่วม
                                                                                  และระดับใดที่แสดงว่าน�้าท่วมในพื้นที่ของ
            ตัวอย่างการออกแบบและพัฒนาระบบติดตามและเตือนภัยนำ้าท่วม นำ้าล้นตลิ่ง   ตนเอง) เซนเซอร์จะท�าการส่งข้อมูล SMS
                                                                                  ผ่านระบบเครือข่ายสื่อสารไร้สาย 3G ไปยัง

                                                                                  ประชาชนในพื้นที่ให้รับทราบ อีกทั้งระบบ
                                                                                  ยังท�าการส่งข้อมูลเตือนภัยผ่านโปรโตคอล
                                                                                  การส่งข้อมูล MQTT ไปยัง แอปพลิเคชัน
                                                                                  ไลน์ ของประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ที่ลงทะเบียน
                                                                                  รับข้อมูลไว้ด้วยผ่านบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์
                                                                                  อาทิ NodeMCU ESP8266








                      ภาพแสดงภาพรวมของระบบติดตามและเตือนภัยโดยใช้เทคโนโลยีไอโอที








                                                                                                             105
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110