Page 15 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 15

สิบปีน�้าท่วมใหญ่ อะไรที่ยังไม่ได้ท�า



                                                                                     (1)  ปริมาณน�้าในอ่างเก็บน�้าหลัก มีเพียง
                                                                                       ร้อยละ 25 ของปี 2554 จึงไม่มีผล
                                                                                       มาซ�้าเติมการเกิดน�้าท่วมจากฝนที่
                                                                                       ตกใต้เขื่อนแต่อย่างใด

                                                                                     (2)  ปริมาณฝนที่ท�าให้เกิดน�้าท่วมนั้น
                                                                                       มีเพียงประมาณร้อยละ 60 ของปี
                                                                                       2554 ท�าให้มีน�้าท่าเช่นที่ไหลผ่าน
                                                                                       จังหวัดนครสวรรค์นั้น มีปริมาณเพียง
                                                                                      ร้อยละ 28 ของปี 2554 โดยมีอัตรา
                                                                                       การไหลสูงสุดร้อยละ 70 ของปี 2554
                  รูปที่ 10: ระดับน�้าในแม่น�้าเจ้าพระยาที่สะพานพระพุทธยอดฟ้า (คาดการณ์ล่วงหน้า)       และมีพื้นที่น�้าท่วมในลุ่มน�้าเจ้าพระยา
                                  เดือนพ.ย.2564 (ระดับเป็น ม.รทก.)
                                                                                      ร้อยละ 16 ของปี 2554 เท่านั้น
                                                                                     ดังนั้นความรุนแรงของการเกิดน�้าท่วม
                                                                                   ของปี 2564 จึงอยู่ในเกณฑ์ที่ต�่ากว่าของปี
                                                                                   2554 มาก

                                                                                     อย่างไรก็ตาม ในพื้นที่ลุ่มต�่า  และพื้นที่
                                                                                   สองตลิ่งของล�าน�้าสายหลัก จะได้รับผลกระทบ
                                                                                   ที่มีความรุนแรงใกล้เคียงกัน  เนื่องจาก
                                                                                   เป็นพื้นที่ลุ่มต�่ามากอยู่แล้วปริมาณน�้าหลาก
                                                                                   เมื่อล้นตลิ่งแล้ว ก็จะสร้างความรุนแรง
                                                                                   เสียหายในปี 2564 ได้ใกล้เคียงกันกับของ
                                                                                   ปี 2554 และในบางพื้นที่จะมีผลกระทบ

                                                                                   สูงกว่าปี 2554 อีกด้วย เนื่องจากใน 10 ปี
                    รูปที่ 11: การเปรียบเทียบเชิงปริมาณน�้าและพื้นที่น�้าท่วมปี 2554 กับปี  2564  ที่ผ่านมา มีการพัฒนาก่อสร้างสิ่งกีดขวาง
                                                                                   ทางน�้ามากยิ่งขึ้น มีการถมพื้นที่แก้มลิง
              โดยภาพรวมแล้ว หากเปรียบเทียบการเกิดน�้าท่วมในปี 2554 กับปี 2564 แล้ว จะเห็นว่า   มากยิ่งขึ้น ทั้งในลุ่มน�้าเจ้าพระยาตอนล่าง

            มีความรุนแรง และผลกระทบที่เกิดจากน�้าท่วมที่แตกต่างกันมาก เมื่อเปรียบเทียบในเชิง  แม่น�้าน้อย แม่น�้าป่าสัก แม่น�้าชี และแม่น�้ามูล
            ปริมาณ ตัวอย่างในลุ่มน�้าเจ้าพระยา ดังแสดงไว้ในรูปที่ 11 กล่าวคือ ในปี 2564 นี้:




























                                                                                                              15
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20