Page 12 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 12

สิบปีน�้าท่วมใหญ่ อะไรที่ยังไม่ได้ท�า



           การระบายน�้าจากลุ่มน�้าเจ้าพระยา    จากภาพถ่ายดาวเทียมของส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
         ป่าสัก และท่าจีน ทั้งในส่วนที่ไหลมาตาม  (GISTDA) พบว่าน�้าท่วมขังและน�้าท่วมไหลหลากในทุ่งต่างๆ นั้น เป็นบริเวณกว้างถึง 12.3
         ล�าน�้า รวมกับน�้าที่ไหลบ่ามาในทุ่งต่าง ๆ   ล้านไร่ ซึ่งธนาคารโลก (World Bank) ได้ประเมินว่ามีความเสียหายเป็นมูลค่าถึง 1.5
         ลงสู่ทะเลนั้น  มีอัตราการไหลที่สูงมาก  ล้านล้านบาท และได้จัดล�าดับเป็นความเสียหายจากภัยธรรมชาติที่สูงเป็นล�าดับที่ 4 ของโลก

         เกินกว่าที่ ระบบแม่น�้าและคลองระบายน�้า
         ต่าง ๆ ทั้งหมดรวมกัน จะรับและสามารถ
         ระบายน�้าลงสู่อ่าวไทยได้ โดยเฉพาะในช่วง  3.  นำ้าท่วมปี 2564 ไม่หนัก
         ที่น�้าทะเลหนุนสูง
           การระบายน�้าลงสู่อ่าวไทย  สูงสุดที่    ปี 2564 นี้ ฝนต้นฤดู ตกมากในเดือนพฤษภาคม จากอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
         สามารถระบายผ่านแม่น�้าเจ้าพระยาผ่าน  ตามฤดูกาล หลังจากนั้นฝนตกน้อยลดลงมากตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้นมา มาตกมาก

         สถานีวัดน�้าบางไทรลงสู่ทะเลในช่วงที่น�้า  อีกครั้งหนึ่งในเดือนสิงหาคมหลังวันแม่  และมีฝนตกมากในเดือนกันยายน โดยปริมาณฝน
         ทะเลไม่หนุนสูงได้สูงสุด 3,500 ลบ.ม./วินาที   สะสมถึงวันที่ 31 ต.ค. มีฝนตกมากกว่าค่าเฉลี่ยร้อยละ 10 (ปี 2554 มีฝนตกมากกว่าค่าเฉลี่ย
         (ปี 2554 มีการใช้กระสอบทรายเสริมคัน  ร้อยละ 26) ดังแสดงในรูปที่ 1 และมีพายุจรเข้ามาเพิ่มปริมาณฝนดังแสดงในรูปที่ 6 ดังนี้
         กั้นน�้าให้สูงขึ้น สามารถระบายน�้าได้สูงสุด     (1) วันที่ 13 กันยายน พายุโกนเซิน (#13: Conson=ภูเขาเวียดนาม) เป็นพายุที่ก่อตัว
         3,860 ลบ.ม./วินาที) โดยช่วงที่น�้าทะเล  เป็นลูกที่ 13 ของปี 2564 เคลื่อนที่เข้ามามีอิทธิพลท�าให้ฝนตกเพิ่มขึ้น ในวันที่ 12 ถึง 14

         หนุนสูงนั้นจะระบายได้ประมาณ 3,000   กันยายน ในพื้นที่อุบลราชธานี และ อ�านาจเจริญ สกลนคร นครพนม บึงกาฬ หนองคาย
         ลบ.ม./วินาที โดยที่แม่น�้าท่าจีนนั้นสามารถ  มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ มีปริมาณตั้งแต่ 152 ถึง 341 มม./วัน และ
         ระบายน�้าลงสู่ทะเลได้สูงสุด 200 ลูกบาศก์  มีฝนตกในพื้นที่บางส่วนของภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางและภาคตะวันออก
         เมตรต่อวินาที ระบายน�้าผ่านระบบคลอง    (2) วันที่ 24 กันยายน พายุเตี้ยนหมู่ (#15: Dianmu=เทพธิดาจีน) ก่อตัวขึ้นในทะเลจีนใต้
         ชลประทานฝั่งตะวันออกลงสู่ทะเลได้ 230   เป็นพายุลูกที่ 15 ของปีนี้ เคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทย โดยวันที่ 24 กันยายน ท�าให้ฝนตก
         ลบ.ม./วินาที ระบบคลองชลประทานฝั่ง   111 ถึง 266 มม./วัน ที่อุบลราชธานี (สูงสุด 266 มม./วัน ที่อุบลราชธานี) ศรีสะเกษ
         ตะวันตกได้ 50 ลบ.ม./วินาที รวมโดยเฉลี่ย  ยโสธร อ�านาจเจริญ และพื้นที่ใกล้เคียง และวันที่ 25 กันยายน ท�าให้ฝนตกหนักถึงหนักมาก

         แล้วจะสามารถระบายน�้าลงสู่อ่าวไทยได้รวม   ในพื้นที่ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ขอนแก่น หนองบัวล�าภู ชัยภูมิ เพชรบูรณ์ นครสวรรค์
         4,000 ลบ.ม./วินาที น�้าที่ต้องการระบาย  (สูงสุด 362 มม./วัน ที่นครสวรรค์) สุโขทัย ก�าแพงเพชร ตาก แม่สอด แม่สะเรียง และพื้นที่
         ลงสู่อ่าวไทยนั้น จึงมีเกินกว่าที่จะระบบ  ใกล้เคียง ดังแสดงในรูปที่ 7
         โดยรวมทั้งหมดจะสามารถระบายได้ตั้งแต่
         วันที่ 13 กันยายน ถึง 27 ตุลาคม 2554

         รวม 44 วัน มีปริมาตรรวมประมาณ 2,200
         ล้าน ลบ.ม. ซึ่งใหญ่มากกว่าอ่างเก็บน�้าป่าสัก
         ชลสิทธิ์ถึง 2.3 เท่า
           จากการใช้แบบจ�าลอง Hydrodynamic
         ของบริษัททีมกรุ๊ป ศึกษาการไหลของน�้า
         ในล�าน�้าและการไหลในทุ่งเจ้าพระยา

         เป็นการคาดการณ์ล่วงหน้า 15 ถึง 30 วัน
         หลังจากการสอบเทียบค่าแล้ว จึงได้น�าผล
         การศึกษามาจัดท�าแผนที่ความเสี่ยงน�้าท่วม
         (Flood Risk Map) ของลุ่มน�้าเจ้าพระยา
         ตอนล่าง เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยง

         ได้ใช้เป็นเครื่องมือในการเตือนภัยล่วงหน้า   รูปที่ 5: ผลการใช้ Hydrodynamic Model ในการศึกษาการไหลในล�าน�้าเจ้าพระยา
         ดังแสดงในรูปที่ 5                                          และการไหลในทุ่งของปี 2554


           12
                  วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17