Page 11 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 11

สิบปีน�้าท่วมใหญ่ อะไรที่ยังไม่ได้ท�า
















              สภาวการณ์ดังกล่าว มีผลให้อ่างเก็บน�้า  Overbank Flow แล้วจะมีอัตราการไหลสูงสุดถึง 4,900 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที) ดังแสดง
            ในภาคเหนือทั้งหมดมีน�้าเต็ม ถึงล้นอ่าง  ในรูปที่ 4 โดยวันที่มีอัตราการไหลที่สูงกว่า 3,000 ลบ.ม./วินาที ซึ่งเกินกว่าขนาดความจุ
            เก็บน�้า เช่น อ่างเก็บน�้าเขื่อนภูมิพลมีน�้าเต็ม  ที่ระบบล�าน�้าและคลองทั้งหมดของลุ่มน�้าเจ้าพระยา-ท่าจีน จะสามารถระบายน�้าได้ทันนั้น
            เป็นครั้งที่ 4 ในรอบ 46 ปี (เต็มอ่าง (1) 15    เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน ถึงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554 รวม 67 วัน จึงท�าให้คันกั้น
            ต.ค. ถึง 17 ธ.ค. 2518, (2) 27 ต.ค. ถึง 20  น�้าของแม่น�้าเจ้าพระยา และแม่น�้าป่าสักพังลงถึงกว่า 20 จุด ท�าให้น�้าไหลบ่าในทุ่งต่าง ๆ

            ธ.ค. 2545, (3) 6 ถึง 11 ต.ค. 2549 และ  ท่วมทั้งพื้นที่เกษตรกรรม นิคมอุตสาหกรรม และ ชุมชนบ้านเรือนเป็นวงกว้าง เป็นพื้นที่รวม
            (4) 18 ถึง 29 ต.ค. 2554) ต้องระบายน�้า  ถึง 12.3 ล้านไร่
            ออกมาที่ทางระบายน�้าล้นในอัตราที่สูงมาก
            ถึง 2,260 ลบ.ม./วินาที (บวกจากอ่างฯ
            สิริกิติ์ อีก 2,220 ลบ.ม./วินาที) ดังแสดง

            ในรูปที่ 3 ประกอบกับมีฝนตกในพื้นที่ท้าย
            เขื่อนเป็นจ�านวนมาก น�้าที่ระบายมาจาก
            เขื่อนหลัก ทั้งเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อน
            แควน้อยบ�ารุงแดน และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
            จึงไหลมาสมทบกันกับน�้าใต้เขื่อนที่เกิดมา
            จากฝนที่ตกใต้เขื่อนเป็นจ�านวนมาก ท�าให้

            เกิดน�้าท่วมในลุ่มน�้าเจ้าพระยาเป็นบริเวณกว้าง
              มีปริมาณน�้าไหลที่เข้าสู่อ่างเก็บน�้าต่าง ๆ
            ในภาคเหนือ นับถึงวันที่ 31 ตุลาคม มีรวม
            ทั้งสิ้น 31,000 ล้านลูกบาศก์เมตร ในขณะที่    รูปที่ 3: ปริมาณน�้าเก็บกักในอ่างเก็บน�้าเขื่อนภูมิพล ปี 2554 และ 2564
            ความจุใช้การของอ่างเก็บน�้าทั้งหมดรวมกัน

            มีเพียง 20,000 ล้านลูกบาศก์เมตร เมื่อน�้า
            ในอ่างเก็บน�้ามีปริมาณมากกว่าเส้นเกณฑ์
            การเก็บกักน�้าสูงสุด (Upper Rule Curve)
            จึงมีความจ�าเป็นต้องระบายน�้าส่วนเกิน
            ลงสู่ท้ายน�้า มาบวกรวมกับน�้าท่า ที่เกิด
            จากฝนที่ตกท้ายเขื่อน จึงท�าให้ปริมาณน�้า
            ที่ไหลผ่านอ�าเภอเมืองจังหวัดนครสวรรค์

            มีปริมาตรถึงวันที่ 31 ตุลาคม สูงถึง 18,485
            ล้านลูกบาศก์เมตร และมีอัตราการไหล
            สูงสุด 4,720 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที (หาก
            ใช้ Rating Curve ที่มีการปรับแก้รวม



                                                      รูปที่ 4: อัตราการไหลของแม่น�้าเจ้าพระยาที่นครสวรรค์ ของปี 2554 และ 2564


                                                                                                              11
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16