Page 10 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 10

สิบปีน�้าท่วมใหญ่ อะไรที่ยังไม่ได้ท�า



         2. ครบรอบ 10 ปีนำ้าท่วมใหญ่ (ปี 2554)



           ปี 2554 เป็นปีที่ปริมาณฝนมากทั้งประเทศ โดยนับถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2554 จะมีปริมาณ
         ฝนถึง 1,810 มิลลิเมตร มากกว่าฝนเฉลี่ย (30 ปี) ร้อยละ 26 ดังแสดงในรูปที่ 1

           โดยฝนสะสมของลุ่มน�้าเจ้าพระยามีค่าสูงถึง 1,286 มิลลิเมตร สูงกว่าฝนเฉลี่ยร้อยละ 30
         (ฝนเฉลี่ย 30 ปีของลุ่มน�้าเจ้าพระยามีค่าเพียง 976 มิลลิเมตร) นอกจากนั้นยังมีพายุจร     พายุจร 2 ลูกดังกล่าว รวมกับฝนตาม
         เข้ามามีอิทธิพลอีก 5 ลูก ดังแสดงในรูปที่ 2 ที่ท�าให้ฝนตกปานกลางและฝนตกหนักเพิ่ม   ฤดูกาลปกติแล้ว ท�าให้ปริมาณน�้าในอ่างเก็บ
         จากฝนจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ตามฤดูกาล ได้แก่                         น�้าต่าง ๆ ในภาคเหนือ เก็บกักน�้ามากเกิน
           (1) วันที่ 25 มิถุนายน พายุไห่หม่า (Haima) ท�าให้ฝนตกหนักในพื้นที่ภาคเหนือในบาง  ครึ่งหนึ่งของอ่างเก็บน�้าแล้ว และในปลาย

         พื้นที่สูงถึง 335 มิลลิเมตร                                            เดือนกันยายน ได้มีพายุจรอีก 3 ลูกเคลื่อนที่
           (2) วันที่ 30 ถึง 31 กรกฎาคม พายุนกเต็น (Nock-Ten) ท�าให้มีฝนตกหนักในภาคอีสาน  เข้ามา อย่างต่อเนื่องในเวลา 7 วัน มีอิทธิพล
         ตอนบนและภาคเหนือในบางพื้นที่สูงถึง 406 มิลลิเมตร
                                                                                ท�าให้ฝนตกปานกลางถึงฝนตกหนัก ได้แก่
                                                                                  (3) วันที่ 28 กันยายน พายุไห่ถาง (Hai
                                                                                Tang) ท�าให้มีฝนตกหนักประมาณ 180 ม.ม.
                                                                                ในพื้นที่ภาคอีสาน ภาคเหนือ และภาคกลาง

                                                                                ตอนบน  ท�าให้อ่างเก็บน�้าในภาคเหนือ
                                                                                มีน�้ามากในระดับใกล้จะเต็ม เช่น อ่างเก็บ
                                                                                น�้าเขื่อนภูมิพล มีปริมาณน�้าเพิ่มสูงขึ้นเป็น
                                                                                ร้อยละ 88 ของความจุใช้การและไปถึงเส้น
                                                                                เกณฑ์การเก็บกักน�้าสูงสุด (Upper Rule
                                                                                Curve) แล้ว และอ่างเก็บน�้าเขื่อนสิริกิติ์

                                                                                ก็มีน�้าอยู่ถึงร้อยละ 98 ของความจุใช้การ
                                                                                ของอ่างเก็บน�้าแล้ว
                                                                                  (4) วันที่ 1 ตุลาคม พายุเนสาด (Nesat)
                       รูปที่ 1: ปริมาณฝนของประเทศไทยในปี 2554 และ 2564         ท�าให้ฝนตกปานกลางประมาณ 100 มม.
                                                                                ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยที่พื้นที่ลุ่มน�้ามีความ

                                                                                ชุ่มชื้นจากพายุเมื่อ 3 วันก่อนนั้นอยู่มาก
                                                                                แล้ว ปริมาณน�้าฝนจึงไหลออกมาเป็นน�้าท่า
                                                                                ในปริมาณมาก (Direct Runoff Factor
                                                                                มีค่าสูงมาก)
                                                                                  (5) วันที่ 5 ตุลาคม พายุนาลแก (Nalgae)
                                                                                เข้ามามีอิทธิพล ท�าให้ฝนตกปานกลางใน
                                                                                ภาคอีสานตอนบน และภาคเหนือ เช่น

                                                                                เดียวกัน เนื่องจากพื้นที่ลุ่มน�้ามีความชุ่มชื้น
                                                                                จากพายุเมื่อ 4 วันก่อนมากอยู่แล้ว จึงท�าให้
                                                                                ฝนที่ตกลงมาไหลเป็นน�้าท่าในปริมาณมาก
                                                                                เพิ่มเติมมาอีกเช่นกัน
                                   รูปที่ 2: พายุจรปี 2554





           10
                  วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15