Page 45 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 45
โบราณก างบั กรรมไทย
ช สันนิษฐานประโยชน์ใช้สอยจากแบบแผนสิ่งปลูกสร้าง รูปสลัก หรือจารึก
(ปราสาทบ้านบุ อ�าเภอประโคนชัย บุรีรัมย์ ปราสาทสระก�าแพงน้อย อ�าเภออุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ปราสาทนางร�า อ�าเภอโนนสูง นครราชสีมา)
รูปที่ ๑๗ สันนิษฐานรูปทรง มิติ องค์ประกอบ ยุคศิลป ของอาคาร หรือโบราณสถาน
งานอื่น ๆ
งานอื่น ๆ อาทิ ไฟฟ้า แสงสว่าง ระบบสายล่อฟ้า (จ�าเป็นยิ่ง โดย มนุษย์ (ทั้งชุมชน เมือง ระบบสาธารณูปโภค) มากกว่าปัจจัยจาก
เฉพาะโบราณสถานที่มีรูปทรงสูงชะลูด หรือมีส่วนประกอบที่เป็น ธรรมชาติ ดังนั้น ภูมิทัศน์ควรเรียบง่าย และยั่งยืน คือ เป็นไปตาม
โลหะ ทั้งนี้ สายที่จะน�ากระแสลงสู่ดิน จะต้องพยายามวางในต�าแหน่ง ธรรมชาติ ใช้แนวคิด Low - maintenance หรือ Maintenance Free
ที่ไม่ปรากฏแก่สายตา) การปรับปรุงภูมิทัศน์ สาธารณูปโภค หรือ (ได้เคยกล่าวเรื่องนี้มาแล้ว) ให้สิ่งปลูกสร้าง อาคาร หรือโบราณสถาน
สิ่งอ�านวยความสะดวก (ปลูกหญ้า ไม้ประดับ หรือไม้ยืนต้น ทางเท้า แสดงคุณค่า สง่า งดงามด้วยตัวเอง ท่ามสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียง
ที่จอดรถ ป้ายประวัติ หรือค�าอธิบาย ศาลาพักคอย สุขา ถังขยะ) สภาพเดิม รูปที่ ๑๘ แสดงตัวอย่างภูมิทัศน์รอบอาคาร หรือโบราณสถาน
มักต้องพิจารณาควบคู่กับการระบายน�้าในบริเวณโบราณสถาน ที่ยึดหลักเรียบง่าย และยั่งยืน ประกอบด้วย ปราสาทภูมิโปน
และต้องพิจารณาองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมอื่น ๆ อย่างไร อ�าเภอสังขะ สุรินทร์ กุฏิฤาษี บ้านโคกเมือง อ�าเภอประโคนชัย บุรีรัมย์
ก็ตาม ในที่นี้ ขออนุญาตละเว้นกล่าวเรื่องจัดการภูมิทัศน์ และ ปราสาทบ้านพลวง อ�าเภอปราสาท สุรินทร์ ปราสาทบ้านไพร อ�าเภอ
ระบบสาธารณูปโภค โดยเฉพาะไฟฟ้าแสงสว่าง เพื่อการจัดแสดง ปราสาท สุรินทร์ ปราสาททองหลาง อ�าเภอเดชอุดม อุบลราชธานี
(แสง สี เสียง) เพราะเป็นความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน แต่จะกล่าว ปรางค์กู่สวนแตง อ�าเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ บุรีรัมย์ ปราสาทตาเมือน
ในเชิงความยั่งยืนว่า ปัจจุบัน สิ่งปลูกสร้าง อาคารเก่า หรือโบราณสถาน อ�าเภอพนมดงรัก สุรินทร์ ปราสาทห้วยแคน อ�าเภอห้วยแถลง
ถูกห้อมล้อม และเปลี่ยนแปลงด้วยความเจริญ และการกระท�าของ นครราชสีมา พระต�าหนักค�าหยาด อ�าเภอโพธิ์ทอง อ่างทอง
45
วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564