Page 41 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 41

โบราณก างบั     กรรมไทย

























                                                รูปที่ ๑๔ ตัวอย่างผลลัพท์จากเครื่องมือค�านวณ
                                (อนุเคราะห์โดย ศ. วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย ชาญพจน์ ตั้งตรงจิตร และ ดร.พฤทธิพงศ์ สิงหติราช)






               Analstylosis



              ค�านี้ เป็นที่รู้จักในการฟื้นฟูบูรณะโบราณสถานมานานกว่า  ส�ารวจท�าผัง หรือแผนที่แสดงรายละเอียด รูปด้าน รูปตัด ภาพถ่าย
            กึ่งศตวรรษ ว่ากันว่าก่อนนั้น มีอภิปรายถกเถียงกว้างขวาง เกี่ยวแก่  ยกออก ท�ารหัสชิ้นส่วน จนกระทั่งน�าชิ้นส่วน ทั้งที่ยกออก และทึ่

            ความเหมาะสมที่จะยอมรับการบูรณะโบราณสถานโดยวิธีนี้   รวบรวม หรือขุดค้นได้ ขึ้นประกอบใหม่ โดยอาจปรับปรุงฐานราก
            เพราะบ้างเชื่อว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพเดิม ด้อยคุณค่าทาง  มีวัสดุยึด หรือเสริมแรง ทั้งนี้ ชิ้นส่วนที่ไม่อาจน�ากลับมาติดตั้ง (ช�ารุด
            สถาปัตยกรรม ศิลป์ ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี จวบจนได้บูรณะ  เสียหาย เสื่อมสภาพ หาย) จะถูกแทนด้วยชิ้นส่วนใหม่ที่สามารถ
            มหาวิหาร โบราณสถานส�าคัญของโลกในกรีก และเห็นเจตนา  แยกแยะได้ (เช่น ใช้หินทรายคนละสี ใช้อิฐเผาใหม่ ประกอบกับ
            ที่แท้จริงของการใช้วิธีนี้ จึงเริ่มเป็นที่ยอมรับ และใช้กว้างขวางขึ้น   ท�าเครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ ระเบียนก�ากับไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง

            ในประเทศไทย มีบันทึกว่า อาจใช้วิธี Analstylosis ครั้งแรก   ในอนาคต) ก่อนการประกอบเข้าใหม่ ปกติมักต้องทดลองเรียงชิ้นส่วน
            เมื่อคราวฟื้นฟูบูรณะปราสาทพิมาย (ราวปี พ.ศ. ๒๕๐๗ - ๒๕๑๒)   ที่ยกออกจากที่เดิม และทึ่รวบรวม หรือขุดค้นได้ เพื่อให้แน่ใจว่า
            ต่อมา ปราสาทหินขนาดใหญ่น้อยอีกหลายแห่ง ฟื้นฟูบูรณะด้วยวิธีนี้   แต่ละชิ้นส่วน หรือหินแต่ละก้อน อยู่ในต�าแหน่งที่ถูกต้อง ดูจาก
            จนปัจจุบัน กล่าวได้ว่า น่าจะเป็นที่รู้จัก ยอมรับแพร่หลายจนถือเป็น  รอยต่อ ร่องรอยการต่อยึด (อาทิ ร่องบาก สลัก หรือร่องเหล็กตัวปลิง)
            วิธีปกติอย่างหนึ่ง (รูปที่ ๑๕)                       ลวดลายสลัก หรือลายนูนที่จะต้องเข้ากันได้สนิท หรือต่อเนื่องกัน
              อาจกล่าวให้เข้าใจง่ายว่า  การยกออก (หลีกเลี่ยงการใช้ค�าว่า  ปัจจุบันเริ่มมีโปรแกรมช่วยการประกอบ พื้นฐานของโปรแกรม เป็นการ

            รื้อถอน) เพื่อประกอบเข้าใหม่ เป็นบริบทส�าคัญของการบูรณะฟื้นฟู  ค้นหาค�าตอบดีที่สุด (Search for most likely or proper solution)
            โบราณสถานโดยวิธี Anastilosis ซึ่งกระบวนท�างานเริ่มตั้งแต่การ  โดยใช้ รูปภาพ (Graphic) และการตัดสินใจของผู้ใช้ประกอบกัน



















                                                                                                              41
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46