Page 40 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 40

โบราณก          กรรมไ ย



            การใช้โครงสร้างถาวร ทั้งโครงสร้างเหล็ก หรือคอนกรีตเสริมเหล็ก รองรับ หรือค�้ายันสิ่งปลูกสร้าง อาคารหรือโบราณสถาน ย่อมควร
          อยู่ภายใน (ไม่ปรากฏแก่สายตา) แต่หากในทางวิศวกรรม จ�าต้องอยู่ภายนอก หรือปรากฏแก่สายตา ย่อมต้องมีความจ�าเป็นอย่างยิ่งที่ต้อง
          มีความเห็น หรือข้อแนะน�าของผู้เชี่ยวชาญศิลป ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี (รูปที่ ๑๓)


















                ข. โครงสร้างรองรับ หรือค�้ายัน ซ่อนอยู่ภายใน (ปราสาทพนมรุ้ง อ�าเภอเฉลิมพระเกียรติ บุรีรัมย์ วัดราษฏร์บูรณะ พระนครศรีอยุธยา
                                     ภูเขาทอง  พระนครศรีอยุธยา - อนุเคราะห์โดย ชาญพจน์ ตั้งตรงจิตร)



















                                       ข. เมื่อโครงสร้างทีใช้รองรับ หรือค�้ายัน จ�าต้องปรากฏแก่สายตา
                          (วัดพระแก้ว อ�าเภอสรรคบุรี ชัยนาท และขวา วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อ�าเภอเมืองพิษณุโลก พิษณุโลก)

                                รูปที่ ๑๓ ตัวอย่างโครงสร้างรองรับ หรือค�้ายันสิ่งปลูกสร้าง อาคาร หรือโบราณสถาน




            เป็นปกติ ที่งานวิศวกรรมต้องอาศัยผลวิเคราะห์ค�านวณ และ  ที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนเล็ก ๆ คล้ายก้อนอิฐ ก้อนหิน 8 - Nodes
          ออกแบบ ปัจจุบันมีเครื่องมือ หรือ Software ทันสมัย ไม่มีกฎเกณฑ์  Element ซึ่งยุ่งยากขึ้น ทั้งสมบัติของวัสดุ (อิฐ หิน) ที่ได้จากการ
          ก�าหนดว่า จะเลือกใช้อย่างไร คงต้องอาศัยประสบการณ์ หรือความ  ทดสอบ ย่อมไม่สม�่าเสมอได้ อย่างไรก็ตาม หากสร้างแบบจ�าลอง
          ช�านาญ ประกอบกับเหตุผลความจ�าเป็นแต่ละกรณี อาจจ�าลอง  ได้ใกล้เคียงสภาพจริง กระบวนวิเคราะห์ย่อมสามารถจ�าลองสภาพ

          โครงสร้างเป็นระบบสอง หรือสามมิติ อาคารเก่า หรือโบราณสถานที่  ภายใต้น�้าหนัก หรือแรงต่าง ๆ ก็จะได้ผลลัพท์น่าพอใจ โปรแกรม
          วางบนฐานรากแผ่ ผนังอิฐก่อ หรือหินเรียง อาจต้องจ�าลองโครงสร้าง  ปัจจุบันแสดงผลที่ดู หรือเข้าใจง่าย (รูปที่ ๑๔)



















           40
                  วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45