Page 9 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
P. 9

สิบปีน�้าท่วมใหญ่ อะไรที่ยังไม่ได้ท�า









                                   สิบปีน�้าท่วมใหญ่







                                                   อะไรที่ยังไม่ได้ท�า












        1. ทรัพยากรนำ้า และปัญหา



          ประเทศไทย มีปริมาณฝนเฉลี่ยรายปี 1,588 มิลลิเมตร (2524 ถึง 2553) ปริมาณน�้าท่า    โดยสาเหตุของการเกิดน�้าท่วมนั้น
        เฉลี่ย 217,051 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี มีอ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่มีความจุรวม 25,952 ล้าน ลบ.ม.    มีสาเหตุมาจากทั้งจากการที่มีฝนตกหนัก
        อ่างเก็บน�้าขนาดกลางมีความจุรวม 3,815 ล้าน ลบ.ม. รวมมีความจุทั้งสิ้น 29,767 ล้าน ลบ.ม.    สภาพภูมิประเทศเชิงเขาที่สูงชัน หลายพื้นที่
        คิดเป็นร้อยละ 13.7 ของปริมาณน�้าท่า โดยอ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่ จะมีประสิทธิ์ภาพในการเก็บกัก  มีประสิทธิภาพในการระบายน�้าต�่า เนื่องจาก
        และบริหารจัดการน�้าได้ดีกว่าอ่างเก็บน�้าขนาดกลางและขนาดเล็ก ตามล�าดับ การสร้างแหล่งเก็บ  ล�าน�้าตื้นเขิน แหล่งน�้าที่ช่วยเก็บกักชะลอน�้า
        กักน�้าเพิ่มขึ้นนั้น ท�าได้ยากมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งจากการที่ท�าเลการก่อสร้างดี ๆ นั้นมีน้อยลง ความ  แก้มลิง มีไม่เพียงพอ ส่วนหนึ่งเกิดจากการ

        ต้องการใช้ที่ดินเพื่อการผลิตมีมากขึ้น และการต่อต้านจากสังคม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม   เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจากแก้มลิง พื้นที่
        ก็มีมากขึ้น                                                               ลุ่มต�่า ไปเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ชุมชน อุตสาหกรรม
          ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,921 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 321.2 ล้านไร่ แบ่งเป็น 25 ลุ่มน�้าหลัก   หรือเมือง มีการสร้างสิ่งกีดขวางทางน�้ามากขึ้น
        โดยมีพื้นที่เกษตรกรรม 169.1 ล้านไร่ (53%) ป่าไม้ 114 ล้านไร่ (35%) ไม้ผลไม้ยืนต้น 43.8    ท�าให้ทางระบายน�้า ระบบการระบายน�้า
        ล้านไร่ (14%) พืชไร่ 42.5 ล้านไร่ (13.3%) ที่เหลือเป็นพื้นที่อื่น ๆ โดยมีพื้นที่ชลประทาน 29.3    ไม่เพียงพอ และมีประสิทธิภาพลดลง

        ล้านไร่ พื้นที่รับประโยชน์ 11.4 ล้านไร่ รวมเป็น 40.7 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 24 ของพื้นที่เกษตรกรรม
          ความต้องการใช้น�้ามีรวมทั้งสิ้น 118,813 ล้าน ลบ.ม. ต่อปี คิดเป็น 4 เท่าของความจุของ
        อ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่และขนาดกลางรวมกัน โดยเป็นน�้าเพื่อกิจกรรมต่าง ๆ คือ การอุปโภค
        บริโภค 1,434 (1%) การอุตสาหกรรม 2,631 (2%) การรักษาระบบนิเวศน์ 20,424 (17%)
        การเกษตรกรรม และปศุสัตว์ 91,260 (77%) และอื่น ๆ 3,062 (3%) โดยความต้องการใช้น�้า
        มีสูงเพิ่มขึ้นทุกปี ตามจ�านวนประชากร และการเพิ่มมาตรฐานความเป็นอยู่ และสาธารณสุข

        ที่ดีขึ้น จึงต้องมีการบริหารจัดการน�้าที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งทางด้านผู้จัดสรรน�้า
        และด้านผู้ใช้น�้าด้วย (Demand Side Management- DSM) (ข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยา
        สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�้า (สสน.) และกรมชลประทาน)
          ปัญหาน�้าท่วม และภัยแล้ง เกิดจากการมีพื้นที่ป่าไม้ลดลง พื้นที่ที่มีการซับน�้า ชะลอน�้า และ
        แก้มลิงมีน้อยลง  การบูรณะแหล่งเก็บกักน�้า และการก่อสร้างอ่างเก็บน�้าใหม่เพิ่มขึ้นท�าได้น้อย

        ท�าให้น�้าต้นทุนมีไม่เพียงพอกับความต้องการใช้น�้าที่เพิ่มขึ้นทุกปี จึงเกิดการขาดน�้าทั้งเพื่อการ
        อุปโภคบริโภค และการเกษตรกรรม


                                                                                                               9
                                                                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2564
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14