Page 30 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 30
ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย
ถนน ก็เช่นเดียวกับทางรถไฟ มีเรื่องราวอยู่มาก ทั้งเรื่องถนนเอง แทนที่ด้วยท่อลอด ได้มีการขุดค้นทางโบราณคดี เพื่อฟื้นฟูบูรณะ
และสองข้างทาง ผูกเป็นเรื่องเดียวกันได้ นอกจากถนน และสะพาน ให้กลับมาเหมือนเดิม ยืนยันว่า ข้อสันนิษฐานเป็นจริง (รูปที่ ๑๐ค)
ในประวัติศาสตร์ (เช่น ถนนพระร่วง ทางราชมรรฤคา สะพาน หรือ ยุคปัจจุบัน เราอาจเคยได้เห็น รู้จักสะพานไม้ รูปแบบต่าง ๆ ที่
ฝายขอม สะพานสมัยกรุงศรีอยุธยา) ร่องรอยถนนแบบโรมันใน ก�าลังจะตกยุคจากเราไป (รูปที่ ๑๐ง) สะพานที่เชื่อมต่ออดีตกับ
อาณาจักรสุโขทัย (รูปที่ ๑๐ก) ร่องรอยทางน�้าหลาก (Flood Plane) ปัจจุบัน หรือสะพานกลางเก่ากลางใหม่ ก็ก�าลังจะเป็นอดีต (รูปที่
ท�านบ และประตูระบายน�้า หรือสะพานขอม จากภูเพ็ก สกลนคร ๑๐จ) หากสนใจศีกษา สะพานขนาดใหญ่ อาจเริ่มต้นทางหลวง
สู่ที่ราบด้านล่าง ที่เกือบจะถูกท�าลายหายไปเมื่อก่อสร้างทางหลวงใหม่ สายหลัก หรือทางหลวงสายส�าคัญในประวัติวิศวกรรมทางหลวงไทย
7
ดีที่สุดท้ายได้ละเว้นช่วงเกาะกลางกว้าง มีที่จอดรถเทียบเกาะกลาง อาทิ ทางหลวงหมายเลข ๑๒ มีสะพานขุนผาเมือง หรือสะพาน
8
ภายในเกาะกลางบูรณะฟื้นฟู ท�านบ และประตูระบายน�้า หรือ ห้วยตอง ประวัติศาสตร์วิศวกรรมไทย ซึ่งเราอยู่ในยุคที่ขยาย
สะพานขอม หนึ่งเดียวในประเทศไทยให้กลับคืนสู่สายตา (รูปที่ ทางหลวงเป็นสี่ช่องจราจร (รูปที่ ๑๐ฉ) หรือรู้จักสะพานส�าคัญ ของ
๑๐ข) ด้วยความรู้ในเรื่องเดียวกัน ท�าให้มีข้อสันนิษฐานว่า ไม่ไกล ไทย อาทิ สะพานข้ามแม่น�้าเจ้าพระยาในกรุงเทพ และปริมลฑล
จากอโรคยาสถานกุฎีฤาษีบ้านโคกเมือง อ�าเภอประโคนชัย บุรีรัมย์ สะพานข้ามแหล่งน�้าขนาดใหญ่ ข้ามทะเล หรือเชื่อมต่อกับประเทศ
มีท�านบ และประตูระบายน�้ารูป จากแหล่งน�้าธรรมชาติเข้าสู่บาราย เพื่อนบ้าน มีสิ่งน่าสนใจนับไม่ถ้วน (รูปที่ ๑๐ช)
ก่อนไปรวมกันที่บารายใหญ่แห่งเมืองต�่า แต่ถูกกลบด้วยถนน และ
ก. ถนนแบบโรมันขึ้นวัดพระบทน้อย และวัดสะพานหิน (พระอัฏฐารส) แห่งสุโขทัย
7 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒ (แม่สอด - มุกดาหาร) (ทางหลวงสายเอเชีย AH 1 ปัจจุบัน) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธาน เชื่อมระหว่างภาคเหนือ และ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มต้นที่สะพานมิตรภาพไทย - พม่า อ�าเภอแม่สอด ตาก สิ้นสุดที่ อ�าเภอเมือง มุกดาหาร ระยะทาง ๗๙๓.๔ กิโลเมตร เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์
ในการป้องกันประเทศ และการพัฒนา ประกอบด้วยเก้าช่วง คือ ๑) ทางหลวงสายตาก-แม่สอด-สะพานมิตรภาพไทย-พม่า (ข้ามแม่น�้าเมย) ๒) ถนนจรดวิถีถ่อง (ตาก -
สุโขทัย) ๓) ถนนสิงหวัฒน์ (สุโขทัย) ๔) ถนนมิตรภาพ แห่งที่สอง (พิษณุโลก) - หล่มสัก (แยกพ่อขุนผาเมือง ๕) ช่วงที่ไม่มีชื่อ (ช่วงหล่มสัก - ชุมแพ ) สิ้นสุดที่แยกบ้านหัน
๖) ถนนมะลิวัลย์ (แยกบ้านหัน ชุมแพ) - แยกสามเหลี่ยม (ขอนแก่น) ๗) ทางหลวงสายขอนแก่น - ยางตลาด (กาฬสินธุ์) ๘) ถนนถีนานนท์ (ช่วงกาฬสินธุ์ - สี่แยกสมเด็จ)
๙) ทางหลวงสายสี่แยกสมเด็จ - กุฉินารายณ์ - มุกดาหาร ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒ เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์สายเศรษฐกิจ (East-West Economic Corridor)
8 เป็นสะพานชนิดแผ่นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก (Slab type) วางบนหอสูง (Viaduct) คอนกรีตเสริมเหล็ก ความสูงตอม่อราว ๕๐ เมตร (สูงที่สุดในประเทศไทย)
ณ กม. ๑๘ + ๕๔๘ ก่อนเข้าเขตอุทยานแห่งชาติน�้าหนาว (ประมาณ กม. ที่ ๕๐) งานก่อสร้างสะพานแห่งนี้ ใช้เครื่องจักรหนักจ�านวนมาก ระเบิดหินถึง 5.5 ล้านลูกบาศก์
เมตร มีงานดินถึงสี่ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อตัดเขา ท�าสะพานเชื่อมภูเขาสองลูก และข้ามห้วยตอง ต่อมาเรียกชื่อว่า “สะพานพ่อขุนผาเมือง” (นัยว่า เมืองราดที่พ่อขุน
ผาเมืองปกครอง ในประวัติศาสตร์ อาจเป็นหล่มสักในปัจจุบัน) สะพานยาว ๑๘๐ เมตร อยู่ในโค้งราบรัศมี ๒๐๐ เมตร เฉพาะสะพานแห่งนี้ ก่อสร้างระหว่าง ๑๔ กันยายน
๒๕๑๖ - ๓ มิถุนายน ๒๕๑๘ (ทางหลวงช่วงหล่มสัก - ชุมแพ เปิดใช้งานเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๒๐)
30 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565