Page 34 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 34

ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย


















                                 ง. ตัวอย่างแหล่ง แท่นขุดเจาะปิโตรเลียมในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                  (อนุเคราะห์โดย กิตติรินทร์ ปรือทอง รุ่งโรจน์ เพชรเขียว และรักตระกูล ศรีค�า)
                              รูปที่ ๑๑ แหล่งน�้า แหล่งปิโตรเลียม และการจัดการ เป็นอีกหนึ่งโบราณกับงานวิศวกรรมไทย





            สองข้างทางหลวง บูรณาการเรื่องราววิศวกรรม และเรื่องอื่น ๆ   บ้านเชียง พิพิธภัณฑ์ หลุมขุดค้น และจัดแสดงการตั้งถิ่นฐานในอดีต
          อาทิ ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ สถาปัตยกรรม อัตลักษณ์ วิถีชีวิต  กว่า ๓,๕๐๐ ปี และความเจริญทางเทคโนโลยี และวิศวกรรม (อาทิ
          พื้นถิ่น (บ้านเรือน เครื่องแต่งกาย การละเล่น อาหารการกิน อาชีพ  สิ่งทอ อุตสาหกรรมภาชนะเขียนสีชนิดใช้ลูกกลิ้ง ถลุงโลหะ สัมฤทธิ์
          ศิลปวัฒนธรรม) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒ ช่วงขอนแก่น -   และเหล็ก เครื่องประดับรัตนชาติ และหล่อโลหะโดยวิธี Lost wax

          ยางตลาด (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒๐๙ เดิม) เริ่มจาก   ท�าเครื่องประดับ เครื่องมือทางการเกษตร และอาวุธ) งานวิศวกรรม
          เทศบาลนครขอนแก่น อ�าเภอเมือง ขอนแก่น ผ่านอ�าเภอเชียงยืน  ปัจจุบัน ใช้กรรมวิธีตัดความชื้น ป้องกันโบราณวัตถุ และโครงกระดูก
          มหาสารคาม ไปสิ้นสุดที่ อ�าเภอยางตลาด กาฬสินธุ์ ระยะทาง   เสื่อมสภาพเนื่องจากกระบวนชีวเคมีในหลุมจัดแสดง (รูปที่ ๑๒ข)
          ๕๘ กิโลเมตร เป็นกรณีศึกษาเรื่อง Feasibility Studdy เล่าขานว่า  ที่จังหวัดหนองคาย มีพระใส คู่บ้านเมืองแห่งวัดโพธิชัย ในพระอุโบสถ
          ทางหลวงช่วงนี้ ประสบความส�าเร็จเกินคาดหมาย มีผู้ใช้ยวดยาน  ซึ่งจิตรกรรมฝาผนังวิจิตร แสดงประวัติ พุทธต�านาน ประเพณี
          พาหนะหลากหลายประเภท สัญจรตั้งแต่ช่วงเริ่มก่อสร้าง (ปัจจุบัน  วัฒนธรรม และวิถีชีวิตพื้นถิ่น ได้โดดเด่น (รูปที่ ๑๒ค) กลุ่มโบราณ

          ช่องจราจร  และออกแบบเรขาคณิตไว้ดียิ่งนัก) เช่นเดียวกับทางหลวง  สถานพระธาตุบังพวนร่วมยุคทวราวดี องค์พระธาตุที่ช�ารุดใกล้พัง
          มิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒) ตอนอุดรธานี – หนองคาย  ทลายถูกฟื้นฟูบูรณะ แต่เค้ารูปแบบเดิมยังสืบทราบได้จากคน
          วางแผนเผื่อขยายช่องจราจร ไปเชื่อมต่อกับสะพานมิตรภาพ  พื้นถิ่น (รูปที่ ๑๒ง)
          ไทย - สปป.ลาว (รูปที่ ๑๒ก) ที่อุดรธานี มีแหล่งประวัติศาสตร์


















               ก. ซ้าย - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒ ช่วงขอนแก่น - ยางตลาด กรณีศึกษาเรื่อง Feasibility Studdy เล่าขานว่าส�าเร็จเกินคาดหมาย
                     กลาง และขวา - ทางหลวงหมายเลข ๒ มิตรภาพ ช่วงอุดรธานี – หนองคาย สู่สะพานมิตรภาพ หนองคาย - เวียงจันทน์









          34 วิศวกรรมสาร  ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39