Page 37 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 37
ตอนที่ ๑๐ โบราณ กับการศึกษา - ฤาล้าสมัย
โบราณ มีรูปแบบ ให้เลือกไปตามประสงค์ เทวสถานขนาดเล็ก หรือสรุก โบราณสถานอารยธรรมขอมขนาดเล็ก
สงบเงียบในชุมชน (รูปที่ ๑๔ข) กระบวนฟื้นฟูบูรณะโบราณสถาน
การท่องเที่ยวศึกษาโบราณสถานกับงานวิศวกรรมไทย อาจช่วย อารยธรรมขอม (รูปที่ ๑๔ค) ตัวอย่างโบราณสถานอารยธรรมขอม
ให้จัดสถานที่เป็นหมวดหมู่ ตามสาระ หรือประเด็นทางวิศวกรรม รอการฟื้นฟูบูรณะครั้งแรก หรือถึงรอบเวลาฟื้นฟูบูรณะอีกครั้ง
อาทิ อโรคยาสถาน เป็นโบราณสถานอารยธรรมขอมขนาดไม่ใหญ่นัก (รูปที่ ๑๔ง) ธรรมศาลา หรือที่พักคนเดินทาง โบราณสถานอารยธรรมขอม
มีรูปแบบเข้าใจง่าย พบจ�านวนมากในประเทศไทย โดยเฉพาะตาม ที่ยังคงสภาพน้อยแห่ง หาดูยาก (รูปที่ ๑๔จ) โบราณสถานอารยธรรม
เส้นทางราชมรรฤคา สู่พิมายปุระ ส่วนใหญ่ฟื้นฟูบูรณะแล้ว หรือ ขอมขนาดใหญ่ ที่ฟื้นฟูบูรณะแล้ว (รูปที่ ๑๔ฉ)
คงสภาพ เหมาะใช้เวลาสั้น ๆ ในวันว่าง (รูปที่ ๑๔ก) เช่นเดียวกับ
ก. ตัวอย่างอโรคยาสถาน (ปราสาททามจาน - บ้านถมอ อ�าเภอปรางกู่ ศรีสะเกษ ปราสาทสะก�าแพงน้อย อ�าเภออุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ ปราสาทช่างปี อ�าเภอ
ศรีขรภูมิ สุรินทร์ ปราสาทพลสงคราม และปราสาทบ้านปราสาท อ�าเภอโนนสูง นครราชสีมา ปราสาทนางร�า อ�าเภอประทาย นครราชสีมา ปราสาทเมืองเก่า
อ�าเภอสูงเนิน นครราชสีมา กุฎีฤาษีบ้านโคกเมือง อ�าเภอประโคนชัย บุรีรัมย์ กู่โพนระฆัง อ�าเภอเกษตรวิสัย ร้อยเอ็ด ปราสาทช่างปี่ อ�าเภอศีขรภูมิ สุรินทร์)
ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม วิศวกรรมสาร 37