Page 83 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 83

สาเหตุและแนวทางการแก้ไขปัญหาหลังคาน�้ารั่ว


                การแก้ไขปัญหา ต้องเสริมความแข็งแรง โครงสร้างหลังคา
            และต้องปรับแก้ปัญหา การแอ่นตัวของโครงสร้าง อาจต้องมีการรื้อ
            ปรับระดับแล้วมุงหลังคาใหม่


              1.4 ขนาดของรางน�้าไม่เพียงพอต่อขนาดของหลังคา หรือท่อ

            ระบายน�้าหลังคาไม่เพียงพอ หรือเกิดการอุดตัน จนท�าให้น�้าไหลย้อน
            บนหลังคา
                การแก้ไขปัญหา อาจต้องปรับแก้ขนาดของรางน�้าใหม่
            เพิ่มจ�านวน จุดหรือขยายขนาดของท่อระบายน�้า เพื่อเร่งการ
            ระบายน�้าให้ทัน



            2.  วัสดุมุงหรืออุปกรณ์ยึดวัสดุมุงเสื่อมสภาพ
              เนื่องจากวัสดุมุงหลังคาเป็นส่วนที่ได้รับผลกระทบเรื่องความร้อน
            จากแดดและได้รับความชื้นจากฝน ซึ่งเป็นตัวเร่งท�าให้อายุใช้งานของ
            หลังคาลดลง อายุการใช้งานของหลังคากระเบื้องลอนคู่ กระเบื้อง
            คอนกรีต ประมาณ 20-30 ปี หลังคาเหล็กรีดลอน ประมาณ 10-15 ปี

            ซึ่งอุปกรณ์ยืดหลังคา เช่น น๊อตยืด ขอ ป.ปลา เป็นโลหะมีโอกาสเกิด
            สนิมจนเสียหายได้ในเวลาไม่นาน
              การแก้ไขปัญหา ต้องมีการตรวจสอบอย่างสม�่าเสมอ เพื่อ
            ซ่อมแซมเป็นระยะเพื่อยืดอายุการใช้งาน หรือหากเสียหายมาก
            อาจต้องพิจารณาเปลี่ยนใหม่ทั้งหมด


            3.  การขาดการดูแลรักษา เนื่องจากส่วนของหลังคาเป็นส่วนที่อยู่ใน

            ที่สูง และยังถ้ามีการปลูกต้นไม้ขนาดใหญ่อยู่ใกล้ ซึ่งมีโอกาสที่กิ่งไม้
            หรือใบไม้ร่วงกอง สะสมอยู่บนหลังคาและในรางน�้า หรือในบางพื้นที่
            ที่มีนกจ�านวนมาก อาจจะมีปัญหา นกท�ารังบนหลังคาหรือรางน�้า
            ท�าให้เกิดการอุดขวางการะบายน�้าจนท�าให้หลังคาเกิดการรั่วได้
              การแก้ไขปัญหา หมั่นดูแลตรวจสอบสภาพบนหลังคา ปัจจุบัน

            การใช้โดรนบินตรวจสอบ สภาพบนหลังคา ท�าให้การตรวจสอบว่า
            มีปัญหาการกีดขวางทางน�้าหรืออุดตันหรือไม่ ท�าได้ง่ายขึ้นหรือหาก
            ต้องการทราบว่าจุดใดมีปัญหารั่วซึม ก็สามารถใช้โดรนที่ติดกล้อง
            ประเภทอินฟราเรด ซึ่งสามารถระบุพื้นที่บนหลังคาที่มีปัญหาน�้ารั่วได้


            4.  ส่วนต่อเติมเกิดการทรุดตัว จนเกิดช่องว่างระหว่างหลังคา ท�าให้

            เกิดน�้ารั่ว
              การแก้ไขปัญหา การแก้ไขปัญหาการทรุดตัวของส่วนต่อเติม
            หรือหากสามารถแยกส่วนของหลังคาไม่ให้ยึดโครงสร้างส่วนต่อเติม
            จนท�าให้การแก้ไขปัญหาการั่วซึมได้ง่ายขึ้น





                                                                                      ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม  วิศวกรรมสาร  83 83
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88