Page 84 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 84
ระเบียบการรับต้นฉบับบทความเทคโนโลยี รองศาสตราจารย์ ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด
ทคโนโลยีน่ารู้
รศ.ดร.นิศาชล ตั้งเสงี่ยมวิสัย
อาษาเฟรมเวิร์ค
แพลตฟอร์มในทุกสรรพสิ่งคืออะไร หากต้องการจะสร้าง Cross Compile ต้อง
ศึกษาเรื่องภาษาโปรแกรมที่เลือกใช้เป็นอันดับแรก
แพลตฟอร์มในทุกสรรพสิ่งคือ Middleware แบบ โดยภาษาที่เลือกมาจะต้องเป็นภาษา C/C++
Cross Compile ผ่านชุดคอมไพเลอร์ GCC หรือ LLVM เท่านั้นเพราะทุก Operating System สนับสนุน
โดยสามารถรันโปรแกรมได้บน Operating System ที่ตัว ภาษาดังกล่าวเป็นธรรมชาติอยู่ในตัวเองเรียบร้อย
ชุดคอมไพเลอร์รองรับ เช่น Windows, Android, Linux, แล้ว ล�าดับต่อไปคือการเลือก Algorithms ของ
MacOS, iOS, iPad OS, PS4, PS5, Xbox One X, การสร้างเครื่องมือ ต้องมีการเขียนขึ้นมาโดย
Nintendo Switch, PSP, PSVita, Raspberry Pi OS, อาศัยหลักการของ Cross Compile เพราะว่า
ESP32 และอื่น ๆ Operating System แต่ละตัวมีอัตลักษณ์ของ
ค�าสั่งที่ไม่เหมือนกัน เมื่อสร้างแพลตฟอร์มใน
ทุกสรรพสิ่งจะต้องมีการใช้ค�าสั่งจ�าพวก #ifdef
เข้ามาช่วยเหลือบอกกับ Compiler ให้ทราบก�าลัง
ท�างานอยู่กับ Operating System ตัวใด
การออกแบบแพลตฟอร์มให้เป็น Cross
Compile เป็นเรื่องที่ต้องอาศัยวิศวกรในการออก
แบบซอฟท์แวร์ ที่มีความช�านาญเฉพาะทางอย่างสูง
มาเป็นผู้ออกแบบวางสถาปัตยกรรมหลักให้กับ
แพลตฟอร์มตัวนั้น ๆ เพราะหากการออกแบบไม่ดี
แพลตฟอร์มที่ออกมาอาจจะรันบนทุกสรรพสิ่งไม่ได้
ตรงจุดนี้จึงเป็นจุดที่น่าตั้งข้อสังเกตในเรื่องของ
เม็ดเงินที่น�ามาลงทุนในโครงการวิจัยว่าต้องเป็น
เม็ดเงินขนาดมหาศาลจึงจะสามารถรันโครงการ
แพลตฟอร์มในทุกสรรพสิ่งขึ้นมาได้
84 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565