Page 88 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 88
อาษาเฟรมเวิร์ค
แอนดรอยด์ รวมถึงสามารถอัพโหลดขึ้นกูเกิ้ลเพลสโตร์ได้ทันที 6.) ARSA Assets Management รองรับไฟล์จาก
รองรับแอนดรอยด์ตั้งแต่เวอร์ชัน 4.0.3 (Ice Cream Sandwich) Cloud และ Storage
ขึ้นไปทั้งโทรศัพท์จริงและอีมูเลเตอร์ เช่น Blue stack เป็นต้น รองรับไฟล์ทั้ง Pak, Tar, Zip สามารถเข้ารหัสแบบ
สามารถใช้โปรแกรมเทียบเคียงอื่น ๆ ได้เช่น Photopea, AES128 bit เพื่อปกป้องข้อมูลภายในเกมได้ทันที ไฟล์ที่
Procreate, Sketchbook, Clip Studio หรือโปรแกรมแต่งรูปอื่น ๆ น�ามาใช้ต้นทางมาได้ทั้งบน Cloud และ Internal Storage
ที่สามารถ Export เป็นไฟล์ PSD ได้
7.) ARSA Physics Real-time Simulation
3.) ภาษาอาษา เขียนโค้ดลงใน Photoshop ได้โดยตรง มีระบบจ�าลองฟิสิกส์แบบเวลาจริง
ภาษาอาษาเป็นภาษาทางการของอาษาเฟรมเวิร์ค ภาษานี้นี้ ฟิสิกส์แบบเวลาจริงที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญาของอาษา
ท�างานร่วมกับ Photoshop ได้โดยตรง สามารถเปิดปิดเลเยอร์ เฟรมเวิร์คคือ (1) ARSA Destruction Objects สามารถ
เคลื่อนที่เลเยอร์ ปรับค่าโอพาซีตี้ เช็คชน ท�าแอนิเมชัน อีกทั้งมี ท�าลายวัตถุในเกมได้อย่างสมจริงและใช้ทรัพยากรประมวล
ความสามารถโปรแกรมการประกาศตัวแปรโกลบอล-โลคอล อาร์เรย์ ผลไม่มาก (2) ARSA Ragdoll คือการจ�าลองการเคลื่อนที่ของ
โครงสร้าง เขียน-อ่านไฟล์ เงื่อนไข ลูป และเบรคก็ท�าใน Photoshop ตัวละครให้เสมือนกับตุ๊กตาผ้าใช้เพื่อความสมจริงเมื่อเกิดการ
ข้อดีคือง่ายบรรทัดเดียวจบ เห็นใน Photoshop อย่างไรบนอุปกรณ์ ปะทะกันระหว่างตัวละครกับวัตถุต่างๆ
ปลายทางก็จะเห็นอย่างนั้น
8.) Cross Platform การท�างานข้ามแพลตฟอร์ม
4.) ARSA Studio เป็น Sandbox ท�าหน้าที่ Preview และ อาษาเฟรมเวิร์คสามารถรองรับแพลตฟอร์ม win32 (64
Deploy แอปหรือเกมออกไปยังอุปกรณ์ปลายทาง bits), android (armeabi-v7a and arm64-v8a), Linux,
เมื่อสร้างภาพและโปรแกรมเสร็จแล้วให้เซฟเป็นไฟล์ PSD ซึ่งเป็น MacOS, iOS, iPad OS, PS4, PS5, Xbox One X, Nintendo
นามสกุลมาตรฐานของ Photoshop น�าไฟล์ดังกล่าวลากเข้ามาวาง Switch, PSP, PSVita, Raspberry Pi OS, ESP32 หรือ
ใน ARSA Studio เพื่อพรีวิวได้ทันที จากนั้นเพียงตั้งชื่อ แอป/เกม แพลตฟอร์มใด ๆ ที่มีชุดคอมไพเลอร์ GCC และ LLVM/Clang
แล้วกดค�าสั่ง Deploy จะส่งไปยังอุปกรณ์ปลายได้อัตโนมัติ เนื่องจาก อาษาเฟรมเวิร์คนั้นสร้างจากภาษา C/C++ ท�าให้สามารถ
ARSA Studio ได้มีตัวช่วย Compile, Deploy ท�างานเป็น Robotics รีคอมไพล์ได้บนแพลตฟอร์มใด ๆ ที่มี คอมไพล์เลอร์
Process Automation (RPA) เราเรียกมันว่า ARSA AI Compiling ดังกล่าว ข้อดีคือท�างานได้รวดเร็วและติดต่อกับฮาร์ดแวร์
(AAC). ได้โดยตรง จึงแอป/เกมที่สร้างจากอาษาเฟรมเวิร์คสามารถ
รีดเร้นประสิทธิภาพ CPU และ GPU ได้ออกมาทุกหยาดหยด
5.) ARSA Real-time Rendering ระบบแสดงผลภาพ ประสิทธิภาพคุ้มค่าอย่างไม่มีสะดุด
แบบเวลาจริงทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ
เทคโนโลยีการแสดงผลของบนอาษาเฟรมเวิร์คทั้ง 2 มิติและ 9.) ARSA Input ระบบรับ Input ได้อย่างหลากหลาย
3 มิติใช้ฮาร์ดแวร์ทั้งหมด โดยอาศัยทฤษฎี Quad-based Real-time เนื่องจากอาษาเฟรมเวิร์คมีการท�างานแบบข้ามแพลตฟอร์ม
Rendering กล่าวคือจะแปลงข้อมูลทุกอย่างให้อยู่ในรูปของระนาบ จึงมีการสร้างระบบรองรับกับอุปกรณ์น�าเข้าข้อมูลที่
สี่เหลี่ยมแล้วจึงส่งไปยัง GPUเพื่อประมวลผลเป็นล�าดับต่อไป หลากหลาย เช่น ทัชสกรีน เมาส์ คีย์บอร์ด และจอยสติก
88 วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับท 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2565