Page 89 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2565
P. 89

อาษาเฟรมเวิร์ค


                อาษาเฟรมเวิร์คกับงานในยุคปัจจุบัน











                                                                                           5. AgTech / Controller น�าไป

                                                                                      ควบคุมอุปกรณ์ Hardware ต่าง ๆ ผ่าน
                                                                                      ทาง Cloud และ Smart Devices เพื่อ
                                                                                      ให้เกิดเป็น Smart Farm หรือ Smart
                                                                                      Manufacturing โดยสมบูรณ์ด้วย
                                                                                      อาษาเฟรมเวิร์ค สามารถน�า Third Party

                                                                                      Library มาใช้งานร่วมกับอาษาเฟรมเวิร์ค
                                                                                      ได้ทันทีโดยผ่านภาษา C/C++ รองรับ
              แพลตฟอร์มอาษาเฟรมเวิร์ค อยู่ภายใต้แนวคิด SDG โมเดลเพื่อ  ทั้ง Static (.a) และ Share Library (.so) และอาษาเฟรมเวิร์คยังรองรับ
            พี่น้อง SME มาร่วมกันยกระดับเศรษฐกิจฐานราก การท่องเที่ยวและ กับอุปกรณ์ ioT โดยควบคุมอุปกรณ์ผ่าน Representational State
            เศรษฐกิจสร้างสรรค์อย่างยั่งยืนไปด้วยกัน สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ Transfer {REST:api} และยังสามารถขยายการควบคุมไปสู่
            ได้อย่างยั่งยืนผ่าน Cloud แพลตฟอร์มโดยโหลด SDK ได้ที่เว็บไซต์  Unmanned Aerial Vehicle อากาศยานไร้คนขับ (Unmanned

            http://www.arsa.ai สามารถท�าซ�้าและขยายผล (Scalable &  Aerial Vehicle) ผ่านโปรโตคอล TCP หรือ UDP เพื่อรับข้อมูล
            Repeatable) รองรับงานในยุคปัจจุบันดังต่อไปนี้        ภาพถ่ายมาประมวลผลได้แบบเวลาจริง (Real-time) และแสดงผล
              1. MedTech EdTech น�าไปสร้าง UX/UI, Visualization, New  ผ่าน Smart Device
            Media, Instruction Media และ Gamification ทางด้านการแพทย์
            และการศึกษาในทุกระดับชั้น ช่วยให้สร้างสื่อการสอนในเรื่องที่ยาก

            จะเข้าใจให้เข้าใจง่ายและเข้าถึงได้ทุกช่วงวัยในเวลาอันรวดเร็ว       สรุป
              2. DeepTech / AI น�าไปสร้างปัญญาประดิษฐ์ด้วยอัลกอริทึม
            Deep Learning หรือ Machine Learning และสามารถน�าไปใช้    อาษาเฟรมเวิร์คได้แสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้น�าด้านสตาร์ทอัพ
            เป็นเครื่องมือในการสอน Coding และ Computing Science   DeepTech ที่จะเข้ามาเป็นทางเลือกเพื่อร่วมผลักดัน Startup
            ได้ในโรงเรียนระดับมัธยมต้น ปลาย อาชีวะและมหาวิทยาลัย   ไทยเข้าไปสู่ชุมชนและ SME ได้อย่าง Prototype Fast, Production
              3. FinTech / Blockchain น�าไปสร้าง ICO สกุลเงินดิจิทัลและ Faster ท�าให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้ออกมา เป็นไปอย่างรวดเร็ว รู้ผลลัพธ์
            เขียนอัลกอริทึม Blockchain ติดต่อกับบริการ Payment ผ่าน  เร็วกว่า เกิดการวางแผนว่าควรไปต่ออย่างไรหรือวางกลยุทธ์ใดที่จะ

            Bank และ None Bank และช่วยเพิ่มรายได้แบบ Omni-channel  เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ท�าให้มีผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เกิดขึ้นมาได้อย่าง
            และ Seamless ระหว่างเรียนหรือท�างานได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน   ต่อเนื่องแบบไร้รอยต่อ มีการเชื่อมโยงกับแพลตฟอร์มการเงินได้
            รวมถึงสามารถขยายตลาดไปสู่ต่างประเทศผ่าน Google Play Store  ทุกแห่งบนโลกและสุดท้ายสามารถท�าซ�้า (Repeatable) และ
            มากกว่า 177 ประเทศได้ทันที                           ขยาย (Scalable) ผลิตภัณฑ์ออกไปสู่ตลาดทั่วโลกได้ผ่าน Cloud
              4. MarTech / BigData Analytic น�าไปสร้างแผนการตลาด   ประชาชนทุกคนจะได้เข้าถึงขุมพลังของแพลตฟอร์มอาษาเฟรมเวิร์ค

            และวิเคราะห์ข้อมูลทาง Data Science รวมถึงสามารถน�าไปใช้เป็น ที่จะช่วยสร้างรายได้ ลดความเหลื่อมล�้าในการสร้างผลิตภัณฑ์ในทุกมิติ
            เครื่องมือในการสอน Data Engineering ได้ในโรงเรียนระดับมัธยม ไร้ข้อจ�ากัดในเรื่องของเวลา สถาบันการศึกษาและอายุขัย เมื่อ
            ต้น ปลาย อาชีวะ และมหาวิทยาลัย                       ประชาชนมีโอกาส ประเทศก็มีโอกาสที่จะหลุดจากกับดักประเทศ
                                                                 รายได้ปานกลาง ไปสู่ประเทศรายได้สูงในไม่ช้าด้วยอาษาเฟรมเวิร์ค


                                                                                      ปีที่ 75 ฉบับที่ 4 กันยายน-ธันวาคม  วิศวกรรมสาร 89
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94