Page 10 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 10
ศาสตราจารย์ ดร.วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย
ราชบัณฑิต ส�านักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา
พ.ศ. 2568-2577 :
ฉากทัศน์การเปลี่ยนผ่านสู่ยุค AGI
บทน�า
ในช่วงเวลาสองปีที่ผ่านมา เอไอได้ ของมนุษย์ไปสู่การควบคุมของ ASI และอาจเปลี่ยนแปลงระบบสังคม เศรษฐกิจ และ
กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจ�าวัน วิถีการด�าเนินชีวิตของมนุษย์โดยสิ้นเชิง
คนจ�านวนไม่น้อยได้สัมผัสกับ AI เชิงสร้างสรรค์
(Generative AI) ซึ่งเป็นปัญญาประดิษฐ์ที่
ออกแบบมาเพื่อท�างานเฉพาะด้าน หรือที่
เรียกว่า Artificial Narrow Intelligence
(ANI) ที่มีความสามารถเทียบเท่าหรือเหนือ
กว่ามนุษย์ในเพียงเฉพาะทาง
ปัจจุบัน นักพัฒนาเอไอทั่วโลกก�าลัง
แข่งขันกันอย่างเข้มข้นในการพัฒนาปัญญา
ประดิษฐ์ที่สามารถท�างานได้หลากหลาย
เหมือนมนุษย์ แต่มีความสามารถที่เหนือกว่า
ที่เรียกว่า Artificial General Intelligence
(AGI) แม้จะมีการคาดการณ์ว่าการพัฒนา ภาพที่ 1 วิวัฒนาการของเอไอ ตามระดับปัญญาและการใช้งาน
จะสมบูรณ์ภายในเวลาอีกไม่เกิน 3-5 ปี
ข้างหน้า แต่ยังมีความเห็นที่แตกต่างในหมู่ โดยนิยามแล้ว AGI ถือเป็น AI ที่มีปัญญาเทียบเท่าหรือเหนือกว่ามนุษย์ สามารถ
ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับกรอบเวลาที่แน่นอน ท�ากิจกรรมได้อย่างหลากหลายเหมือนที่มนุษย์ท�าได้ นอกจากนี้ AGI ยังสามารถเรียนรู้
และเมื่อ AGI เกิดขึ้นจริง จะเข้ามาขับเคลื่อน และพัฒนาตัวเองให้เก่งขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยตัวเองได้ ความได้เปรียบของ AGI อยู่ที่
โลกยุคใหม่ที่เต็มไปด้วยโอกาสและความ ความเร็วในการประมวลผลเชิงปัญญา (Cognitive Processing) เหนือกว่ามนุษย์อย่าง
ท้าทายที่ไม่เคยมีมาก่อนในประวัติศาสตร์ เทียบกันไม่ได้ และมีปริมาณข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์มากกว่าข้อมูลที่มนุษย์จ�าได้ในสมอง
มนุษยชาติ นับเป็นล้าน ๆ เท่า จึงไม่แปลกที่ AGI จะ “ฉลาด”กว่ามนุษย์แบบเทียบกันไม่ได้ (ภาพที่
หลังจากนั้นไม่นาน เชื่อว่า AGI จะ 2) การเกิดของ AGI จะน�าไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบใหม่ในโลกอนาคต ที่ไม่ต้องอาศัย
สามารถพัฒนาตัวเองไปสู่ระดับขั้นที่สูงขึ้น แรงงานและสมองของมนุษย์ แต่อาศัยเครื่องจักรหุ่นยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วย AGI ซึ่งจะมี
คือ ปัญญาประดิษฐ์ที่มีความสามารถสูง ประสิทธิภาพเหนือกว่ามนุษย์ทั้งแรงงานและปัญญาโดยสิ้นเชิง
ยิ่งยวด หรือ Artificial Super Intelligence เพื่อให้เข้าใจสถานะของ AI ในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต Sam Altman ผู้ก่อตั้ง
(ASI) (ภาพที่ 1) ซึ่งอาจส่งผลให้กิจกรรม OpenAI ซึ่งพัฒนา ChatGPT ได้แบ่งพัฒนาการของ AI เป็น 6 ระดับ ได้แก่ (1) AI ที่ท�างาน
ทุกอย่างในโลกเปลี่ยนผ่านจากการควบคุม โดยอัตโนมัติตามขั้นตอนวิธี (algorithm) (2) AI ที่เข้าใจบริบท (3) AI ที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
10 ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 l วิศวกรรมสาร