Page 12 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 12
ประเทศไทย พ.ศ. 2568-2577 : ฉากทัศน์การเปลี่ยนผ่านสู่ยุค AGI
ไม่ว่าจะเลือกทางใด ผลลัพธ์ขั้น ต้องพัฒนาทักษะใหม่ เพื่อท�างานร่วมกับ AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทศวรรษนี้จึงเป็นจุด
สุดท้ายคือการใช้แรงงานและปัญญาของ เปลี่ยนส�าคัญที่สุดส�าหรับมนุษย์เงินเดือนทุกระดับในประวัติศาสตร์การท�างานของ
มนุษย์ในภาคการผลิตและบริการจะลดลง มนุษยชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทยที่มีแรงงานจ�านวนมากในภาคบริการและ
อย่างมีนัยส�าคัญ เมื่อ AI มีความสามารถ การผลิตที่มีความเสี่ยงสูงต่อการถูกแทนที่ด้วยระบบอัตโนมัติ
เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ มนุษย์ท�างานส่วนใหญ่ก็จะ
ระยะที่ 2: ระบบเศรษฐกิจที่ปั่นป่วนก่อนปรับสู่จุดสมดุล
ระยะนี้ การปรับเปลี่ยนของระบบ ในบริบทของประเทศไทย ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคจะค่อย ๆ ล่มสลาย เนื่องจากอุปทาน
เศรษฐกิจทุนนิยมที่มนุษย์คุ้นเคยเริ่มชัดเจน ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลจากประสิทธิภาพการผลิตที่สูงขึ้นและต้นทุนพลังงานที่
ขึ้น เมื่อพัฒนาการด้าน AI เข้าใกล้ AGI จะ ถูกลง โดยเฉพาะสินค้าที่น�าเข้าจากประเทศที่มีความก้าวหน้าด้าน AI ซึ่งมีต้นทุนต�่าจน
เกิดความโกลาหลในระบบเศรษฐกิจระดับ แทบไม่มีราคา ในขณะที่สินค้าฟุ่มเฟือยและอสังหาริมทรัพย์แม้จะมีมูลค่าสูง แต่จะมีสภาพ
โครงสร้าง เมื่อประชากรไร้งานท�ามากขึ้น คล่องต�่าเนื่องจากก�าลังซื้อในประเทศที่ลดลง สถานการณ์นี้อาจท�าให้เกิดความเหลื่อมล�้า
กลายเป็นชนชั้นไร้ประโยชน์ (Useless ทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้นในสังคมไทย จนอาจน�าไปสู่การที่ทรัพย์สินมีค่า เช่น ที่ดิน
Class) ตามนิยามของ Yuval Noah Harari ถูกชาวต่างชาติที่มีทุนเหลือเฟือเข้ามาครอบครอง (ภาพที่ 6)
(ภาพที่ 4) เนื่องจากไม่มีส่วนร่วมในระบบ การลงทุนในภาคพลังงานจะเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญ เพื่อรองรับความต้องการ
เศรษฐกิจหลังแรงงานมนุษย์ พลังงานมหาศาลที่จ�าเป็นต่อการพัฒนา ฝึกฝน และประยุกต์ใช้ AGI ทั่วโลก แม้ว่าจะมี
เมื่อประชากรส่วนใหญ่ขาดรายได้ ความหวังว่า AGI เองจะมีบทบาทส�าคัญในการเร่งพัฒนาแหล่งพลังงานสะอาดให้เพียงพอ
รัฐจ�าเป็นต้องสร้างตาข่ายความปลอดภัย ต่อความต้องการ แต่กระบวนการนี้อาจใช้เวลาและมีความท้าทายทางเทคนิคที่ต้องเอาชนะ
ทางสังคม (Social Safety Net) อย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชัน (nuclear fusion)
แนวทางที่ได้รับการอภิปรายอย่างกว้างขวาง นักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่าประสิทธิภาพในการเก็บเกี่ยวพลังงานแสงอาทิตย์จะ
คือการจัดให้มี “เงินได้พื้นฐานถ้วนหน้า” เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญจากระดับปัจจุบันที่ต�่ากว่าร้อยละ 0.01 ของพลังงานแสงอาทิตย์
(Universal Basic Income - UBI) ส�าหรับ ที่ส่องมายังโลก ซึ่งจะเป็นโอกาสส�าคัญส�าหรับประเทศไทยที่มีศักยภาพสูงด้านพลังงาน
ประชากรทุกคนโดยไม่ค�านึงถึงสถานะทาง แสงอาทิตย์ตลอดทั้งปี การพัฒนาดังกล่าวจะท�าให้แหล่งผลิตพลังงานสามารถกระจายตัว
เศรษฐกิจและสังคม ไปยังพื้นที่ห่างไกลความเจริญและแม้แต่ในท้องถิ่นทุรกันดาร
ในระยะเริ่มต้น รัฐอาจจัดเก็บภาษีเพิ่มขึ้น
เพื่อสนับสนุนโครงการนี้ แต่กลไกดังกล่าว
จะเผชิญอุปสรรคในระยะยาว (ภาพที่ 5)
เนื่องจากองค์กรธุรกิจที่เคยเป็นฐานภาษี
หลักจะทยอยปิดตัวลงเพราะไม่สามารถ
แข่งขันได้ ในเวลานั้น ประเทศไทยอาจ
จ�าเป็นต้องพิจารณาการจัดเก็บภาษีรูปแบบ
ใหม่ เช่น ภาษีหุ่นยนต์ (Robot Tax) ภาษี
การท�าธุรกรรมทางการเงิน หรือภาษีความ
มั่งคั่ง ท้ายที่สุด รัฐอาจต้องพึ่งพาความช่วย
เหลือจากประเทศที่ร�่ารวยจากระบบการ
ผลิตอัตโนมัติที่ขับเคลื่อนด้วย AI ซึ่งอาจน�า ภาพที่ 4 แนวคิดชนชั้นไร้ประโยชน์ (Useless Class) ของ Yuval Noah Harari
ไปสู่การสร้างสกุลเงินโลก (World Currency)
และส่งผลกระทบต่อสกุลเงินท้องถิ่น
12 ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 l วิศวกรรมสาร