Page 11 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 11
ประเทศไทย พ.ศ. 2568-2577 : ฉากทัศน์การเปลี่ยนผ่านสู่ยุค AGI
ภาพที่ 2 เปรียบเทียบ “ความฉลาด (หัวไวและความจ�าดี)” ระหว่างมนุษย์กับ AGI
(4) AI เชิงสร้างสรรค์ หรือ Generative AI
(5) AI ในระดับวิวัฒนาการสู่ AGI และ (6)
AI หลังระดับ AGI ปัจจุบันเราก�าลังก้าวผ่าน
ขั้นตอนที่ (4) และนักพัฒนา AI ส่วนใหญ่
เชื่อกันว่า AGI น่าจะมาถึงภายใน พ.ศ.
2573 นี้ แต่ก็ยังมีผู้เห็นต่างอย่างหลากหลาย
บทความนี้ ต้องการน�าเสนอฉากทัศน์
ที่เป็นไปได้ในการเปลี่ยนผ่านประเทศไทย
สู่ระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วย AGI ซี่ง
จะเปลี่ยนวิถีการด�ารงชีวิตของมนุษย์
ครั้งใหญ่ ที่ยิ่งกว่าการเปลี่ยนวิถีชีวิตจาก
เกษตรกรรม มาเป็นวิถีชีวิตอุตสาหกรรมที่
มนุษย์ใช้เครื่องจักรมาแทนแรงงานมนุษย์ ภาพที่ 3 วิวัฒนาการวิถีชีวิตมนุษย์สู่ยุคหลังแรงงานมนุษย์ (Post-Labor Era)
แต่เป็นการใช้เอไอมาทดแทนทั้งแรงงาน
และปัญญาของมนุษย์ เราเรียกยุคที่ก�าลัง ระยะการเปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจหลังแรงงานมนุษย์
จะเข้ามาว่า โลกยุคเศรษฐกิจหลังแรงงาน
มนุษย์ (Post-Labor Economy) (ภาพที่ 3) ระยะที่ 1: การเปลี่ยนผ่านสู่การผลิตและการให้
เพื่อให้เห็นถึงความท้าทายและโอกาส บริการด้วยระบบอัตโนมัติ
ส�าคัญที่มาพร้อมกับ AGI ภายในช่วง 10 ปี ในระยะแรกของการเปลี่ยนผ่าน ระบบอัตโนมัติจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
นับจากปีนี้ไป ผู้นิพนธ์มุ่งหมายที่จะน�าเสนอ โดยองค์กรในทุกภาคธุรกิจจะเผชิญกับทางเลือกหลายรูปแบบ:
แนวคิดในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงที่ 1. ปฏิเสธระบบอัตโนมัติ - ยืนหยัดใช้แรงงานและปัญญามนุษย์ต่อไป
ซับซ้อนนี้ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถได้ ซึ่งจะส่งผลให้แข่งขันไม่ได้และน�าไปสู่การปิดกิจการในที่สุด
ประโยชน์จาก AGI และลดความเสี่ยงที่อาจ 2. น�าระบบอัตโนมัติมาใช้ทั้งหมด - ปรับตัวเพื่อความอยู่รอดด้วยการ
มีผลอย่างยิ่งยวดต่อประชาคม เศรษฐกิจ แทนที่แรงงานมนุษย์ทั้งหมด ซึ่งน�าไปสู่การลดบทบาทของแรงงานมนุษย์อย่างต่อเนื่อง
สังคม และความมั่นคงของประเทศ 3. ผสมผสานระหว่างมนุษย์และ AI - ปรับใช้ AI ในงานที่เหมาะสมขณะ
ที่ยังคงรักษาและพัฒนาความสามารถเฉพาะตัวของมนุษย์ที่ AI ยังไม่สามารถ
ทดแทนได้
วิศวกรรมสาร l ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 11