Page 19 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
P. 19
นวัตกรรมคอนกรีตแห่งอนาคต คอนกรีตกักเก็บพลังงาน
โดยคณะวิจัยได้ตระหนักถึงความ
ไม่เสถียรภาพของแหล่งพลังงาน
ธรรมชาติจึงได้น�าแนวคิดของการ
กักเก็บพลังงานธรรมชาติในรูปแบบ
ลักษณะที่คล้ายกับแบตเตอรี่ และ ที่มา : https://www.bostonglobe. ที่มา : https://surfacesreporter.com/
articles/175060/mit-researchers-
com/2023/08/22/business/mit-
เนื่องด้วยข้อจ�ากัดของเทคโนโลยี supercapacitor-stores-renewable- develop-cement-carbon-black-
แบตเตอรี่ปัจจุบันที่ต้องพึ่งพาแร่ธาตุ energy/ made-supercapacitor-for-energy-
หายากและมีต้นทุนสูง จึงคิดค้น storage-in-roads-and-buildings
นวัตกรรมใหม่ที่สามารถใช้วัสดุใกล้ตัวอย่างเช่นปูนซีเมนต์ มาพัฒนาเป็นระบบกักเก็บ
พลังงาน โดยแนวคิดหลักของงานวิจัยคือการสร้างวัสดุคอมโพสิตระหว่าง ซีเมนต์ น�้า และ
คาร์บอนแบล็ก โดยอาศัยปฏิสัมพันธ์ทางเคมีและฟิสิกส์ กระบวนการผลิตเริ่มจากการผสม
คาร์บอนแบล็ค (Carbon Black) กับปูนซีเมนต์ แล้วเติมน�้าเพื่อให้เกิดปฏิกิริยาไฮเดรชัน
และใช้เทคนิคการวิเคราะห์ที่มีความซับซ้อนและทันสมัย อาทิ เทคนิค EDS-Raman Spectroscopy
ช่วยให้นักวิจัยศึกษาโครงสร้างระดับจุลภาคของวัสดุได้อย่างละเอียด ซึ่งพบว่าคาร์บอน
แบล็คจะท�าหน้าที่สร้างเครือข่ายการน�าไฟฟ้าภายในโครงสร้างปูนซีเมนต์ โดยกลไกการ
ท�างานจะเริ่มจากการเติมคาร์บอนแบล็คลงในซีเมนต์ ท�าให้เกิดเครือข่ายการน�าไฟฟ้า
กระจายทั่วโครงสร้าง จากนั้นช่องว่างจากปฏิกิริยาไฮเดรชันท�าหน้าที่เป็นช่องทางการ
เคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า และพื้นผิวของคาร์บอนแบล็คจะท�าหน้าที่กักเก็บประจุไฟฟ้า
เดเมียน สเตฟำนิอุก สำมำรถใช้ตัวเก็บประจุยิ่งยวดที่ท�ำจำกปูนซีเมนต์คำร์บอน มำให้พลังงำน
แก่เครื่องเล่นเกมขนำดพกพำได้
ที่มา : https://www.bbc.com/thai/articles/ckkkr99141go
วิศวกรรมสาร l ปีที่ 78 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568 19