Page 8 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 8

ปฏิรูปการจัดการน�้าทั้งระบบ



                                                             มีข้อเสนอแนะที่นับว่าส�าคัญข้อหนึ่งคือ ไม่ควรก่อสร้างอ่างซ้อน
                                                             อ่าง และเปิดพื้นที่ชลประทานท้ายอ่างด้านเหนือน�้าเพิ่ม เพราะ
                                                             จะเป็นการย้ายการใช้น�้าจากการเพาะปลูกฤดูแล้งในเขตโครงการ
                                                             ชลประทานเจ้าพระยาไปยังพื้นที่ชลประทานท้ายอ่างด้านเหนือ
                                                             น�้า ซึ่งต้องเสียค่าก่อสร้างเพิ่ม ซึ่งขณะนั้นอ่างเก็บน�้าเขื่อนแม่งัด

                                                             พร้อมระบบชลประทานท้ายอ่างในเขต จ.เชียงใหม่ และอ่างเก็บ
                                                             น�้าเขื่อนแม่กวง พร้อมระบบชลประทานท้ายอ่างในเขต จ.ล�าพูน
                                                             ยังไม่ได้ก่อสร้าง ซึ่งอ่างเก็บน�้าทั้งสองอยู่เหนืออ่างเก็บน�้าภูมิพล
                                                             ซึ่งต่อมาก็ได้ก่อสร้างอ่างเก็บน�้าทั้งสองโดยไม่สนใจ ข้อเสนอแนะ
                                                             ดังกล่าว ส�าหรับอ่างเก็บน�้าเขื่อนแม่กวงก่อสร้างอ่างที่มีขนาดใหญ่
            (2) การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าอย่างเป็นระบบด้วย  เกินไปจนนาน ๆ จึงจะมีน�้าให้เก็บกักเต็มอ่างสักครั้ง และปัจจุบัน
          แบบจ�าลอง เขื่อนเจ้าพระยาก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2498   (ก.ค. 2563) ก�าลังก่อสร้างอุโมงค์ผันน�้าจากแม่น�้าแม่แตงไปยังแม่
          ระบบส่งน�้าของเขื่อนซึ่งสามารถส่งน�้าให้การเพาะปลูกข้าวฤดูฝน  น�้าปิงและจากแม่น�้าปิงไปยังอ่างเก็บน�้าเขื่อนแม่งัด และจากอ่าง

          ได้มากกว่า 7 ล้านไร่ ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2504 อ่างเก็บ  เก็บน�้าเขื่อนแม่งัดไปยังอ่างเก็บน�้าเขื่อนแม่กวง
          น�้าเขื่อนภูมิพลก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2506 และอ่างเก็บน�้า     ส�าหรับผลการศึกษาการใช้น�้าในลุ่มน�้าแม่กลองพอสรุปได้ว่า
          เขื่อนสิริกิติ์ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2514 หลังจากเขื่อน   หลังจากก่อสร้างอ่างเก็บน�้าเขื่อนศรีนครินทร์และเขื่อนวชิรา
          สิริกิติ์ก่อสร้างแล้วเสร็จ ข้าราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าใจ
          ว่าสามารถเปิดพื้นที่ชลประทานด้านท้ายน�้าได้อีกมาก ร้อนถึง

          ธนาคารโลกซึ่งให้กู้เงินมาก่อสร้างโครงการทั้ง 3 ได้เสนอแนะให้
          กรมชลประทานว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษามาศึกษาการใช้น�้าในลุ่มน�้า
          เจ้าพระยา-แม่กลอง (Chao Praya-Meklong Basin Study) อนึ่ง
          บริษัท เอเคอร์ (Acres International Services Ltd. ชื่อที่ใช้ใน
          ต่างประเทศ) จากประเทศคานาดา     (ซึ่งผู้เขียนเคยไปปฏิบัติงาน
          ที่ส�านักงานใหญ่ในประเทศคานาดาเป็นเวลา 1 ปี (2517-2518))
          ได้รับการคัดเลือกให้เข้ามาศึกษาการใช้น�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยา-

          แม่กลอง
            ผลการศึกษาการใช้น�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยาอย่างเป็นระบบ
          ด้วยแบบจ�าลองของบริษัท เอเคอร์ สามารถสรุปได้ว่า ปริมาณ
          น�้าที่สามารถเก็บกักได้ในอ่างเก็บน�้าขนาดใหญ่ทั้งสองในลุ่มน�้า
          เจ้าพระยา (อ่างเก็บน�้าเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์) มีไม่เพียงพอ

          ส�าหรับเพาะปลูกข้าวฤดูแล้งในเขตโครงการชลประทานเจ้าพระยา
          ได้เต็มพื้นที่ (เต็มตามความสามารถที่คลองส่งน�้าจะส่งให้ได้)
          ทุกปี เป็นผลให้โครงการชลประทานพิษณุโลกระยะที่ 2 บนฝั่งซ้าย
          (หันหน้าตามน�้า) ของแม่น�้าน่านในเขต จ.พิษณุโลก พิจิตร และ
          นครสวรรค์หลายแสนไร่ต้องหยุดการพัฒนา การศึกษาดังกล่าว














         8    วิศวกรรมสาร
              ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13