Page 9 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 9

ปฏิรูปการจัดการน�้าทั้งระบบ



            ลงกรณ์แล้วเสร็จจะมีน�้าเหลือ เพราะระบบชลประทาน            ทางปฏิบัติภาคสนามผู้เขียนจะได้รับมอบหมายให้ออก
            ก่อสร้างได้ช้ากว่าอ่างเก็บน�้า ฉะนั้นถ้ารีบผันน�้าจากลุ่มน�้า  ไปแก้ปัญหา แล้วกลับมารายงานให้หัวหน้าโครงการของ
            แม่กลองมาใช้ในลุ่มน�้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกตอนล่างได้      กรมชลประทานได้รับทราบแล้วเขียนรายงานให้หัวหน้า
            เร็วกว่าเท่าใดก็จะเกิดประโยชน์มากเท่านั้น                 โครงการของบริษัท เอเคอร์ได้รับทราบด้วย ถ้าปัญหาใด
              หลังจากนั้นกรมชลประทานได้ว่าจ้างบริษัท เอเคอร์          ยุ่งยากและซับซ้อนก็ให้ศึกษาเป็นกรณีศึกษา แต่ละกรณี

            จากประเทศคานาดาให้เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้า           ศึกษาได้จัดพิมพ์แจกในกรมชลประทานกรณีศึกษาละ
            ในลุ่มน�้าเจ้าพระยา ซึ่งบริษัทเอเคอร์ได้เพิ่มประสิทธิภาพ  500 ชุด รวม 7 กรณีศึกษา
            การจัดการน�้าในลุ่มน�้าเจ้าพระยา โดยการจัดสรรน�้าล่วง       อนึ่งเมื่อใกล้จะสิ้นสุดสัญญาจ้าง  โครงการเพิ่ม
            หน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลองตั้งแต่           ประสิทธิภาพแหล่งน�้าโดยการจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์
            ปี พ.ศ. 2522-2525 และบริษัทเอเคอร์ได้ชักชวนผู้เขียน       อย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลอง กรมชลประทานได้เตรียม
            ให้มาร่วมงานดังกล่าว ซึ่งขณะนั้นผู้เขียนได้ปฏิบัติงานใน   การจะจัดจ้างบริษัทเอเคอร์ต่อ และเตรียมจัดหาบุคลากร

            หน้าที่รองอธิการบดีฝ่ายบริหารอยู่ที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น    ที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดการน�้ามาปฏิบัติงานร่วม
            และสุดท้ายผู้เขียนก็สามารถลาออกจากราชการเป็นการ           กับบริษัทเอเคอร์ โดยคาดหวังว่า เมื่อสิ้นสุดสัญญาจ้าง
            ชั่วคราวตามมติ ครม. มาร่วมงานดังกล่าวได้เป็นเวลา 3 ปี     ครั้งต่อไป กรมชลประทานจะสามารถด�าเนินการจัดสรรน�้า
            (2522-2524) หน้าที่ของผู้เขียนในโครงการนี้คือ เมื่อ       ล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลองต่อได้
            จัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์ไปแล้วและเกิดปัญหาใน          ด้วยตนเอง แต่เป็นที่น่าเสียดายที่เงินกู้ส�าหรับจ้างบริษัท

                                                                      ที่ปรึกษา มีไม่เพียงพอ
                                                                        อนึ่งในปี พ.ศ. 2523 ขณะที่ด�าเนินการจัดสรรน�้าล่วงหน้า
                                                                      รายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลองอยู่นั้น ได้เกิด
                                                                      อุทกภัยโดยมีปริมาณน�้าไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยาวัดได้
                                                                      3,800 ลบ.ม.ต่อวินาที (วัด 2 ครั้งด้วย Current meter
                                                                      ในขณะนั้นวัด 1 ครั้งใช้เวลา 1 วัน) แต่ผู้จัดการโครงการ
                                                                      ของกรมชลประทาน (อาจารย์ถนอม คล้ายขยาย) ซึ่ง

                                                                      รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดสรรน�้าช่วงเกิดอุทกภัย (ซึ่งท่าน
                                                                      มักจะมาปฏิบัติงานที่กรมชลประทานสามเสนโดยไม่มี
                                                                      วันหยุดเสาร์-อาทิตย์)  ได้ดีโดยไม่เกิดน�้าท่วมรังสิต
                                                                      ดอนเมือง หลักสี่และเขตจตุจักร เช่นเดียวกับปี พ.ศ. 2554
                                                                      ซึ่งมีปริมาณน�้าไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยาใกล้เคียงกัน อนึ่ง

                                                                      ในช่วงที่ด�าเนินการจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่าง
                                                                      เป็นระบบด้วยแบบจ�าลองอยู่นั้นจะท�าให้ทราบความจุ
                                                                      ของคลองทั้งคลองส่งน�้าและคลองระบายน�้าทุกสายได้เป็น
                                                                      อย่างดี จึงไม่ท�าให้เกิดความผิดพลาดในการผันน�้าอุทกภัย
                                                                      เช่นปี พ.ศ. 2554 ซึ่งผู้เขียนทราบถึงความผิดพลาดใน
                                                                      การผันน�้า 200 ลบ.ม.ต่อวินาที เข้าคลองระพีพัฒน์ตั้งแต่

                                                                      วันแรกแต่ไม่ทราบว่าจะท�าอย่างไร ทั้งนี้เพาะพื้นที่ของ
                                                                      โครงการชลประทานเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกตอนล่างเคย
                                                                      เป็นกรณีศึกษาของผู้เขียนมาก่อน








                                                                                                    วิศวกรรมสาร  9
                                                                                     ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14