Page 10 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
P. 10

ปฏิรูปการจัดการน�้าทั้งระบบ



          3. การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน�้าของผู้เขียน



            หลังสิ้นสุดการปฏิบัติงานเป็นเวลา 3 ปี (2522-2524) กับ อัตราการรั่วซึมบนแปลงเพาะปลูกข้าว ส�าหรับปริมาณน�้าฝนที่
          บริษัท เอเคอร์ ที่กรมชลประทาน ผู้เขียนก็ได้กลับไปเป็นอาจารย์ ตกลงบนแปลงเพาะปลูกข้าว และสามารถใช้แทนน�้าชลประทานได้
          ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในวันที่ 1 มกราคม  ซึ่งค�านวณหาความสัมพันธ์ด้วยแบบจ�าลองเป็นรายสัปดาห์เช่น
          2525 และในเดือนมีนาคม 2526 ผู้เขียนก็ได้ย้ายมาสอนหนังสือที่  เดียวกัน โดยต้องเก็บข้อมูลจากแปลงทดลองในเขตโครงการ
          ภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน�้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย  ชลประทานมาสอบเทียบแบบจ�าลองด้วย เป็นต้น แล้วน�าข้อมูล
          เกษตรศาสตร์ โดยคาดหวังว่าจะน�าประสบการณ์ที่ได้ปฏิบัติงานกับ เหล่านี้ไปใช้

          บริษัท เอเคอร์เป็นเวลา 4 ปี (1 ปีในประเทศคานาดา และ 3 ปี    -  จัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลอง
          ในประเทศไทย) มาสอนนักศึกษาและปฏิบัติงานวิจัยประยุกต์  และ
          ในเรื่องที่เกี่ยวกับ                                 -  ศึกษาเพื่อสร้างเกณฑ์การใช้น�้าจากอ่างเก็บน�้าเพื่อการ
            1) การศึกษาการใช้น�้าในลุ่มน�้าอย่างเป็นระบบด้วยแบบจ�าลอง เพาะปลูกฤดูแล้งในรูปของกราฟส�าหรับค�านวณหาพื้นที่เพาะปลูก
            2) การจัดสรรน�้าล่วงหน้ารายสัปดาห์อย่างเป็นระบบด้วย  ฤดูแล้ง (Dry season area reduction cure-DSAR Curve) ถ้า

                แบบจ�าลอง                                    ค�านวณหาถูกต้อง และใช้กราฟนี้ค�านวณหาพื้นที่เพาะปลูกฤดูแล้ง
            3) น�าแบบจ�าลองการจัดการน�้าที่บริษัท เอเคอร์ได้เริ่มพัฒนา  แล้ว น�้าจะไม่แห้งอ่างในระยะยาว และที่ต้นการเพาะปลูกฤดูฝน
                ไว้มาพัฒนาต่อ                                ถ้าฝนเกิดตกช้าก็มีน�้าให้เตรียมแปลงเพาะปลูกข้าว
                                                               3.2)  การปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการ
            3.1)  น�าแบบจ�าลองส�าหรับค�านวณหาความต้องการน�้า จัดการน�้าด้วยมาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างเฉพาะที่ส�าคัญ ประกอบ
          เพื่อการชลประทานที่เหมาะส�าหรับลักษณะการชลประทานใน ด้วย

          ประเทศไทยที่บริษัท เอเคอร์ ได้เริ่มพัฒนาไว้มาพัฒนาต่อพร้อมทั้ง           1) ประมาณปี พ.ศ. 2528 ผู้เขียนได้เดินทางไปปฏิบัติงาน
          เก็บข้อมูลจากแปลงทดลองในเขตโครงการชลประทานมาสอบเทียบ  ที่โครงการชลประทานน�้าอูน จ.สกลนคร ในวันเสาร์-อาทิตย์
          แบบจ�าลอง เช่น ปริมาณน�้าใช้ในการเตรียมแปลงเพาะปลูกข้าว  ร่วมกับอาจารย์จากภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน�้าอีกท่านหนึ่ง









































        10    วิศวกรรมสาร
              ปีที่ 76 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2566
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15