Page 24 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 24
การใช้เสาท่อเหล็กกับงานก่อสร้างอาคารหลายชั้น
รูปที่ 8 ตัวอย่างข้อมูลสมบัติคอนกรีตที่ต้องป้อนในซอฟท์แวร์ ABAQUS
ผลการวิเคราะห์ผ่านแบบจ�าลอง
จากการศึกษาการด�าเนินการจัดวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ ต้านทานแรงดึง ตามเอกสารอ้างอิง CEB-FIB เพื่อให้ได้ข้อมูลที่
(Finite Element Analysis, FEA) มีค่าตัวพารามิเตอร์หลายค่าที่ เพียงพอต่อการน�าไปใช้ในการค�านวนในแบบจ�าลองไฟไนต์เอลิเมนต์
มีความจ�าเป็นส�าหรับข้อมูลตั้งต้น เพื่อใช้ในการค�านวณพฤติกรรม การจ�าลองรูปแบบการทดสอบของระบบทั้งระบบ มีจ�านวน
ของการเสียรูปของการทดสอบ วัสดุหลักที่อยู่ในแบบจ�าลองมีวัสดุ ทั้งสิ้น 3 รูปแบบ ตามรูปแบบการทดสอบจริงที่ได้น�าเสนอในข้าง
อยู่ 2 ประเภท คือ 1) เหล็ก ได้มีการก�าหนดสมบัติของเหล็กต่าง ๆ ต้น โดยคณะผู้วิจัยสามารถวิเคราะห์และสรุปผลการทดสอบได้ดังนี้
ที่ใช้ในแบบจ�าลองเป็นแบบ elasto-plastic material หรือค่า 1) รูปแบบจ�าลองที่ได้จัดท�าขึ้นนั้นสามารถจ�าลองพฤติกรรม
stress-strain curve ที่ได้จากการทดสอบดึงในห้องปฎิบัติการ การรับแรงสูงสุดได้ โดยมีความผิดพลาดน้อยกว่า 5%
2) คอนกรีต มีก�าหนดสมบัติเป็นแบบ plastic-damage model 2) การรับน�้าหนักสูงสุดที่ได้จากแบบจ�าลอง รูปแบบที่ 1
หรือ Concrete Damage Plasticity; (CDP) ข้อมูลส่วนนี้จะได้ (เสริมด้วยเหล็กแถบรับแรงเฉือนที่ความกว้างของแถบ 50 mm)
จากการทดสอบการกดแท่งตัวอย่างคอนกรีตที่หล่อเป็นรูปทรง มีค่ามากกว่า รูปแบบที่ 2 (เสริมด้วยเหล็กแถบรับแรงเฉือนที่ความ
กระบอก (concrete cylinder) โดยการทดสอบวัสดุจะต้องกระท�า กว้างของแถบ 25 mm แต่เพิ่มจ�านวนให้มากขึ้น โดยปริมาณสุทธิ
ณ วันที่ทดสอบระบบทั้งระบบ เพื่อให้ก�าลังรับแรงอัดคอนกรีตที่ เท่ากับ การทดสอบรูปแบบที่ 1) เล็กน้อยสะท้อนผลการทดสอบ
ได้จากการทดสอบ สะท้อนผลที่สอดคล้องกับการทดสอบตัวอย่าง จริงในห้องปฏิบัติการ
เพื่อให้การปรับแบบจ�าลองมีความใกล้เคียงกับพฤติกรรมจริงมาก
ที่สุด แต่อย่างไรก็ดีด้วยเหตุที่คณะผู้วิจัยมีข้อมูลการทดสอบเฉพาะ
ในส่วนการรับแรงอัดของคอนกรีตเท่านั้น ไม่สามารถบันทึกข้อมูล
สมบัติเชิงพฤติกรรมคอนกรีตในส่วนต้านทานแรงดึง ซึ่งแม้ว่าจะมีค่า
ไม่มากนักก็ตาม แต่ก็ส่งผลต่อความแม่นย�าของแบบจ�าลอง ด้วย
เหตุดังกล่าวคณะผู้วิจัยได้ประมาณการพฤติกรรมคอนกรีตในส่วน
24 ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567 วิศวกรรมสาร