Page 21 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 21
การใช้เสาท่อเหล็กกับงานก่อสร้างอาคารหลายชั้น
รูปที่ 3 รูปแบบการทดสอบในห้องปฏิบัติการที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)
ผลการทดสอบได้แสดงค่าประมาณการมากกว่าค่าค�านวณตาม (Fy) ของแผ่นเหล็กปิดหัวเสา ของส่วนประกอบเหล่านี้ไม่ส่งผลต่อ
ทฤษฎีรอยแตกวิกฤตจากแรงเฉือน หรือ Critical Shear Crack ภาพรวมของความสามารถในการรับน�้าหนักเมื่อเปรียบเทียบกับ
Theory (CSCT) และรูปแบบการวิบัติที่เกิดขึ้นกับตัวอย่างแสดง ตัวอย่างทดสอบในรูปแบบที่ 2 ตามที่ได้ปรากฏจากผลการทดสอบข้างต้น
ผลที่สอดคล้องกับพฤติกรรมในเชิงทฤษฎี ซึ่งการเสริมสลักรับแรง ต่อมาในปี พ.ศ. 2566 คณะผู้วิจัยได้เพิ่มตัวอย่างทดสอบ โดย
เฉือน (shear headed stud) มีส่วนส�าคัญที่ท�าให้ระบบ มีความ ด�าเนินการทดสอบร่วมกับเหล็กแผ่นลายพับขึ้นรูปเพื่อรับแรงเฉือน
เหนียวมากยิ่งขึ้น สามารถรับก�าลังได้มากขึ้นและยัง ไม่เกิดการวิบัติ (shear band) หรือ XSHEAR เพิ่มเติม ร่วมกับระบบเสาท่อเหล็ก
จนพังถล่มภายหลังจากที่ระบบได้รับแรงสูงสุด และการปรับขนาด รับพื้นไร้คานที่มีการจัดเตรียมเงื่อนไขขอบเขต (boundary
ลดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ POSTCONNEX อาทิ เช่น 1) แผ่นเหล็ก condition) เช่นเดียวกับการทดสอบในปี พ.ศ. 2564 เพื่อตรวจสอบ
เสริมก�าลังรูปทรงสามเหลี่ยม (ในแนวตั้ง) 2) แผ่นเหล็กแป้นรับ ความเป็นไปได้ในการเสริมก�าลังรับแรงเฉือนทะลุให้กับพื้นคอนกรีต
สลักเกลียว (ในแนวระนาบ) 3) ขนาดของสลักเกลียว 4) ก�าลังคราก ไร้คาน
รูปที่ 4 เหล็กแผ่นลาย
พับขึ้นรูปรับแรงเฉือน
วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567 21