Page 19 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 19
การใช้เสาท่อเหล็กกับงานก่อสร้างอาคารหลายชั้น
ที่ได้ด�าเนินการศึกษาการท�าแบบจ�าลอง ได้ถูกน�าเสนอในงาน SSI Steel
Construction Forum 2024 ในวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2567
บทความนี้จะเป็นการน�าเสนอผลสรุปของการศึกษา จากการพัฒนา
แบบจ�าลองเชิงลึก Finite Element Modeling (FEM) น�ามาตรวจสอบ
กับผลการทดสอบในห้องปฏิบัติการ เพื่อเป็นแนวทางส�าหรับวิศวกร
ที่สนใจงานพัฒนานวัตกรรมต่อไป
ภาพรวมการทดสอบและผลการทดสอบ
ในห้องปฏิบัติการ
การทดสอบตัวอย่างเสาท่อเหล็กที่มีการประกอบเหล็กปิดหัวเสา (cap
plate) ที่รองรับพื้นคอนกรีตไร้คานในห้องปฏิบัติการ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2564
และปี พ.ศ. 2566 นั้น มีวัตถุประสงค์หลักคือเพื่อศึกษาก�าลังรับแรงเฉือน
ของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก เมื่อไม่มีและมีการเสริมก�าลังรับแรงเฉือน
(ไม่ว่าจะเสริมด้วย shear headed stud หรือ XSHEAR) และน�าข้อมูล
ที่ได้จากการทดสอบไปใช้เปรียบเทียบกับแบบจ�าลอง finite element
รูปที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของ POSTCONNEX model เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเชิงพฤติกรรม และปรับปรุงแบบจ�าลอง
ให้สะท้อนพฤติกรรมที่ได้จากการทดสอบจริง ส�าหรับน�าไปพัฒนาต่อยอด
รูปแบบการจัดท�ารายละเอียดที่ดี (good detailing) ที่สามารถอ�านวยให้
ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2565 คณะนักวิจัยได้ออกแบบ ระบบมีสมรรถนะ (performance) สูงที่สุดต่อไป
นวัตกรรมอีกหนึ่งนวัตกรรม จากเหล็กแผ่นลาย
(checkered plate) แผ่นใหญ่ น�ามาตัดเป็นแถบแล้วพับ
ขึ้นรูปเพื่อใช้เสริมก�าลังรับแรงเฉือนของแผ่นพื้นไร้คานที่มี
ความเสี่ยงต่อการวิบัติจากการเฉือนทะลุ (punching
shear) ที่เรียกเป็นภาษาทั่วไปว่า เหล็กแถบรับแรงเฉือน
หรือ shear band โดยน�ามาทดสอบร่วมกับ POSTCONNEX
ผลการทดสอบและการวิเคราะห์เบื้องต้น ได้มีการน�าเสนอ
ช่วงราวกลางปี พ.ศ. 2566 โดยตัวแทนของคณะนักวิจัย นายเมธี
สุวรรณสนธิ์ ในการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ
ครั้งที่ 28 ที่จังหวัดภูเก็ต และในทางคู่ขนาน คณะนักวิจัย
ก็ได้ด�าเนินการท�าปริทัศน์วรรณกรรม (literature review)
ควบคู่ไปกับการวิเคราะห์แบบจ�าลองไฟไนต์เอลิเมนต์
(Finite Element Analysis, FEA) เชิงลึก ด้วยซอฟท์แวร์
ABAQUS ร่วมกับบริษัทที่ปรึกษา บจก. สินธรา (Synterra)
วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567 19