Page 22 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567
P. 22

การใช้เสาท่อเหล็กกับงานก่อสร้างอาคารหลายชั้น







































                               รูปที่ 5 การเตรียมการทดสอบ POSTCONNEX ร่วมกับ XSHEAR ในห้องปฏิบัติการ


            การด�าเนินการทดสอบในปี พ.ศ. 2566 นั้น ได้ด�าเนินการ   จากผลการทดสอบการรับก�าลังสูงสุด พบว่า 1) การใช้ XSHEAR
          จ�านวนทั้งสิ้น 5 ตัวอย่าง แบ่งเป็น 3 รูปแบบ อันประกอบไปด้วย  สามารถใช้เสริมแรงเพื่อป้องกันการเกิดแรงเฉือนทะลุได้ เมื่อ
            1. รูปแบบที่ 1 จ�านวน 2 ตัวอย่าง เป็นรูปแบบที่มีแถบเหล็ก เปรียบเทียบกับการค�านวณอ้างอิง ACI 318-19 มีค่าการรับน�้าหนัก
          รับแรงเฉือน ความกว้าง 50 mm                        ที่มากกว่าประมาณการไว้ 16-21% 2) ตัวอย่างทดสอบ รูปแบบที่

            2. รูปแบบที่ 2 จ�านวน 2 ตัวอย่าง เป็นรูปแบบที่มีแถบเหล็ก 3 การไม่มีอุปกรณ์ยึดโคนเสา และ XSHEAR ท�าให้การต้านทาน
          รับแรงเฉือน ความกว้าง 25 mm (ที่มีน�้าหนักเหล็กลายดอกเท่ากับ  แรงเฉือนทะลุลดลง ส่งผลให้มีค่าการรับน�้าหนักที่ลดลงดังผลการ
          รูปแบบที่ 1 แต่แถบความกว้างลดขนาด)                 ทดสอบ 3) การรับแรงเฉือนทะลุของ XSHEAR แถบกว้าง 50 mm
            3. รูปแบบที่ 3 จ�านวน 1 ตัวอย่าง เป็นรูปแบบที่ไม่มีแถบเหล็ก มีก�าลังรับแรงใกล้เคียงกับ XSHEAR แถบกว้าง 25 mm เนื่องจาก
          รับแรงเฉือน และไม่มีอุปกรณ์จับยึดหัวเสา            พื้นที่หน้าตัดของเหล็กลายดอกที่เสริมรับแรงเฉือนทะลุหรือ

            ซึ่งก่อนการทดสอบทางทีมงานได้จัดท�าการประมาณการก�าลัง punching shear มีพื้นหน้าตัดการรับแรงที่เท่ากัน
          สูงสุดของแต่ละรูปแบบที่จะรับได้ตามมาตรฐาน ACI318 -19
          (CSCT)




















          รูปที่ 6 ผลการทดสอบรับก�าลังสูงสุดการรับแรงเฉือนทะลุ (punching shear)

        22   ปีที่ 77 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2567                                               วิศวกรรมสาร
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27